แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี
(พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔)
เพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑)
องค์การบริหารส่วนตาบลยางสว่าง
อาเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์
คานา
ตามที่กระทรวงมหาดไทย ได้แจ้งหนังสือด่วนที่สุด ที่ มท. 0810.3/ว 5797 ลว. 10 ตุลาคม 2559 เรื่อง ซักซ้อมแนวทางการจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. ๒๕61 ๒๕64) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 2559 โดยกำหนดให้แผนพัฒนาท้องถิ่นมีระยะเวลาสี่ปี เพื่อให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัดที่กำหนดให้มีระยะเวลาสี่ปี การจัดทำ เพิ่มเติม หรือเปลี่ยนแปลง แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี ให้ผ่านกระบวน การประชาคมท้องถิ่น เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน และกำหนดให้จัดทำหรือทบทวนแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี ให้แล้วเสร็จภายในเดือนตุลาคมก่อนปีงบประมาณถัดไป เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี นั้น
ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 2559 ข้อ 7 และ 8 และหนังสือสั่งการดังกล่าวข้างต้น พร้อมทั้งให้ การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) เป็นไปด้วยความเรียบร้อย องค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง จึงได้จัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. ๒๕61 ๒๕64) ของตำบลยางสว่าง ตามแนวทางระบบการวางแผนพัฒนาของตำบลยางสว่าง เพื่อเป็นการเตรียมการสำหรับการพัฒนาในอนาคต โดยได้ดำเนินการให้สอดคล้องกับปรัชญาและแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี, แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12, แผนการบริหารราชการแผ่นดิน (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี), คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี), เจตนารมณ์/นโยบาย ของ คสช, ยุทธศาสตร์หลักที่ คสช. ยึดเป็นแนวทางในปัจจุบัน, ค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ, แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1, แผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ๑ เข้าสู่ประชาคมอาเซียน, แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสุรินทร์, แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์ และข้อมูลปัญหาความต้องการของประชาชนในจังหวัดสุรินทร์ จากภาคีการพัฒนาทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในจังหวัดสุรินทร์ ทั้งในด้านเนื้อหาสาระ กระบวนการ ขั้นตอน และระยะเวลาดำเนินการ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาท้องถิ่นต่อไป
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
ส่วนที่ 1 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน 1-14ส่วนที่ 2 สรุปผลการพัฒนาท้องถิ่นตามแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๖๐) 15-19 ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 20-45
ส่วนที่ 4 การนาแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีไปสู่การปฏิบัติ 46-104
ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแผนงาน
บัญชีโครงการพัฒนาท้องถิ่น
ส่วนที่ ๕ การติดตามและประเมินผล 105-107ภาคผนวก
1
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี
(พ.ศ. 2561 - 2564) เพิ่มเติม (ฉบับที่1)
องค์การบริหารส่วนตาบลยางสว่าง อาเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์
ส่วนที่ 1 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
1. ด้านกายภาพ
1.1 ที่ตั้งของหมู่บ้านหรือชุมชนหรือตาบล
องค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง จัดตั้งโดยพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 เมื่อวันที่ 14 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2542 ตั้งอยู่บริเวณเส่วนหนึ่งของที่สาธารณะโคกอีเมิม มีเนื้อที่ประมาณ 30 ไร่ ตั้งอยู่ด้านทิศตะวันออกของอำเภอรัตนบุรีเป็นระยะทาง 15 กิโลเมตร เดิมเป็นที่ตั้งของสภาตำบลยางสว่าง ปัจจุบันมีอาคารทำการ 1 หลังห้องประชุมสภา 1 หลัง ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยี 1 หลัง ที่จอดรถ 1 หลัง ศูนย์อาสาสมัครปูองกันภัยฝุายพลเรือน 1 หลัง มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยางสว่าง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตก ด้านตรงข้าม(ทิศเหนือ)เป็นพื้นที่สาธารณะของโรงเรียนบ้านยาง
อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลดอนแรด
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลเบิด
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลอีเซ อ.โพธิ์ศรีสุวรรณ จ. ศรีสะเกษ
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลธาตุ
1.2 ลักษณะภูมิประเทศ
ตำบลยางสว่างมีสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มเหมาะแก่การเพาะปลูก ดินมีลักษณะร่วนปนทรายด้านทิศตะวันออกมีปุาดงโพนทรายครอบคลุ่มพื้นที่ทางการเกษตรของราษฎร์ ม.1, ม.3, ม.4, ม.5, ม.6, ม.10 และมีแนวปุาเชื่อมมาทางทิศเหนือคือปุาดงแดง,ปุาดงอึ่ง ครอบคลุมพื้นที่ทางการเกษตรของราษฎร์ ม.2, ม.8, ม.11 โดยมีลำห้วยทับทันไหลเชื่อมกับแม่น้ำมูลเป็นแนวกั้นเขตพื้นที่ตำบลยางสว่างกับบ้านหนองฮู
2
ตำบลอีเซ อำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ จังหวัดศรีสะเกษ ตำบลยางสว่างมีเนื้อที่ประมาณ 15,992 ไร่ หรือ 25.52 ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นที่นาประมาณ 9,054 ไร่
1.3 ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบมรสุมมี 3 ฤดู คือ
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่ มีนาคม - พฤษภาคม
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่ มิถุนายน - ตุลาคม
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่ พฤศจิกายน - กุมภาพันธ์
1.4 ลักษณะของดิน
ดินเป็นดินร่วนปนทราย
1.5 ลักษณะของแหล่งน้า
ของแหล่งนแหล่งน้าธรรมชาติ
1) บ่อน้ำตื้น จำนวน 11 แห่ง
2) สระน้ำ จำนวน 4 แห่ง
3) แม่น้ำลำคลอง จำนวน 3 แห่ง
รวม จานวน 18 แห่ง
แหล่งน้าที่สร้างขึ้น
1) บ่อน้ำบาดาล จำนวน 15 แห่ง
รวม จานวน 15 แห่ง
1.6 ลักษณะของไม้และป่าไม้
ปุาดงโพนทราย ปุาดงแดง ปุาดงอึ่ง
2. ด้านการเมือง/การปกครอง
2.1 เขตการปกครอง
อาณาเขตการปกครอง
แบ่งเขตการปกครอง เป็น 1 เขต 11 หมู่บ้าน ดังนี้
3
ที่
ชื่อหมู่บ้าน
หมู่ที่
ผู้ปกครอง
1
บ้านยาง
1
นายสุขมี ช่วยตะคุ
2
บ้านนางเข็ม
2
นายเฉลิมชัย ลาเลิศ
3
บ้าน แก่นท้าว- ดงดั่ง
3
นายบุญนำ ทีงาม
4
บ้านกล้วย
4
นายสมถวิล โสภาพ (กำนัน)
5
บ้านน้อยพัฒนา
5
นายบุญเลิศ ศรีจันทร์
6
บ้านยางเตี้ย
6
นายทองอินทร์ อุดม
7
บ้านขะยูง
7
นายสุรเกียรติ พันธ์งาม
8
บ้านโนนสังข์
8
นายอนุกร พฤตินอก
9
บ้านหนองตาด
9
นายยอด นันทพันธ์
10
บ้านศาลา
10
นางบุญจันทร์ บุตรวงศ์
11
บ้านหนองบัวศรีสว่าง
11
นายสุริยา พักตร์ใส
รวม
11
4
2.2 การเลือกตั้ง แบ่งเขตการเลือกตั้ง เป็น 1 เขต ดังนี้
หน่วยเลือกตั้งที่
หมู่ที่
ชื่อผู้ใหญ่บ้าน
จานวนครัวเรือน
จานวนประชากร
ชาย
หญิง
รวม
บ้านยาง
1
นายสุขมี ช่วยตะคุ
159
366
382
748
บ้านนางเข็ม
2
นายเฉลิมชัย ลาเลิศ
129
291
285
576
บ้าน แก่นท้าว- ดงดั่ง
3
นายบุญนำ ทีงาม
66
131
146
277
บ้านกล้วย
4
นายสมถวิล โสภาพ (กำนัน)
115
293
278
571
บ้านน้อยพัฒนา
5
นายบุญเลิศ ศรีจันทร์
68
142
160
302
บ้านยางเตี้ย
6
นายทองอินทร์ อุดม
77
190
188
378
บ้านขะยูง
7
นายสุรเกียรติ พันธ์งาม
156
423
419
842
บ้านโนนสังข์
8
นายอนุกร พฤตินอก
57
144
133
277
บ้านหนองตาด
9
นายยอด นันทพันธ์
75
188
190
378
บ้านศาลา
10
นางบุญจันทร์ บุตรวงศ์
52
102
129
231
บ้านหนองบัวศรีสว่าง
11
นายสุริยา พักตร์ใส
62
135
140
275
รวม
1,016
2,405
2,450
4,855
หมายเหตุ ข้อมูลผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
3. ประชากร
3.1 ข้อมูลเกี่ยวกับจานวนประชากร
5
องค์การบริหาส่วนตำบลยางสว่าง มีประชากรทั้งสิ้น 4,855 คน ชาย จำนวน 2,405 คน หญิง จำนวน 2,450 คน ประชากรแยกเป็นช่วงอายุ ได้ดังนี้
ที่
ชื่อหมู่บ้าน
หมู่ที่
จานวนครัวเรือน
จานวนประชากร
ชาย(คน)
หญิง(คน)
รวม(คน)
1
บ้านยาง
1
159
366
382
748
2
บ้านนางเข็ม
2
129
291
285
576
3
บ้าน แก่นท้าว- ดงดั่ง
3
66
131
146
277
4
บ้านกล้วย
4
115
293
278
571
5
บ้านน้อยพัฒนา
5
68
142
160
302
6
บ้านยางเตี้ย
6
77
190
188
378
7
บ้านขะยูง
7
156
423
419
842
8
บ้านโนนสังข์
8
57
144
133
277
9
บ้านหนองตาด
9
75
188
190
378
10
บ้านศาลา
10
52
102
129
231
11
บ้านหนองบัวศรีสว่าง
11
62
135
140
275
รวม
1,016
2,405
2,450
4,855
4. สภาพทางสังคม
4.1 การศึกษา ประกอบด้วย
รร. ประถมศึกษา 3 แห่ง
6
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กประจำตำบลยางสว่าง 4 แห่ง
ศูนย์สาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยางสว่าง อำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ สำนักงาน
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้เปิดบริการรับผิดชอบ 11 หมู่บ้าน จำนวนประชากร 4,508 คน ปัจจุบันมีอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ 7 คน ประกอบด้วย
1. นายรวิชญ์ สีดาธรรม ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยางสว่าง
2. นายธีระศีกดิ์ มุมทอง ตำแหน่ง เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน
3. นางสาวจีราวรรณ รัตนวิชัย ตำแหนง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
4. นางรัชฎาภรณ์ ศรชัย ตำแหน่ง พนักงานผู้ช่วยเจ้าหน้าที่อนามัย
5. นางอัศดาพร ศรีแก้ว ตำแหน่ง พนักงานช่วยการพยาบาล
6. นายพานิช ศรีแก้ว ตำแหน่ง พนักงานบริการ
7. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จำนวน 122 คน
ที่
ชื่อสถานศึกษา
สถานที่ตั้ง
ชื่อผู้บริหาร
จานวนนักเรียน
1
โรงเรียนบ้านยาง
บ้านยาง หมู่ที่ 1
นายเฉลิม เสาเวียง
145
2
โรงเรียนบ้านขะยูง
บ้านขะยูง หมู่ที่ 7
นายไสว บุญภา
101
3
โรงเรียนบ้านนางเข็ม
บ้านนางเข็ม หมู่ที่ 2
นายสุดใจ ศรีใหญ่
80
4
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกล้วย
บ้านกล้วย หมู่ที่ 4
นายสิทธิพร โ พธิ์ชัย
26
5
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านยาง
บ้านยาง หมู่ที่ 1
พระอธิการบุดดี คุตตจิโต
35
6
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนางเข็ม
บ้านนางเข็ม หมู่ที่ 2
พระครูรัตนโชติกิจ
29
7
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ยางสว่าง(หนองตาด-ขะยูง)
บ้านหนองตาด หมู่ที่ 9
นายยอด นันทะพันธ์
36
รวม
452
7
5. ระบบบริการพื้นฐาน
5.1 การคมนาคมขนส่ง
ระบบการสื่อสารที่มีให้บริการ เช่น โทรศัพท์ การไปรษณีย์โทรเลข และการสื่อสารใน
รูปแบบอื่นๆ ดังต่อไปนี้
โทรศัพท์ ได้แก่โทรศัพท์ส่วนบุคคล
การไปรษณีย์โทรเลข และการสื่อสารในรูปแบบอื่น ๆ
อินเตอร์เน็ตตำบล
5.2 การไฟฟ้า
การดำเนินกิจการ ไฟฟูาให้กับประชาชน ในตำบลยางสว่าง อยู่ในความรับผิดชอบและดำเนินงานโดยการไฟฟูาส่วนภูมิภาคอำเภอรัตนบุรี ในเขตตำบลยางสว่างส่วนใหญ่ประชาชนมีไฟฟูาใช้ทุกครัวเรือนมีเพียงบางครัวเรือนที่แยกบ้านไปออกจากหมู่บ้านที่ยังไม่มีไฟฟูาใช้ ดังนี้
ชื่อหมู่บ้าน
หมู่ที่
จานวนครัวเรือน
ครัวเรือนที่มีไฟฟ้า
ครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟ้า
บ้านยาง
1
159
159
-
บ้านนางเข็ม
2
129
129
-
บ้าน แก่นท้าว- ดงดั่ง
3
66
66
-
บ้านกล้วย
4
115
115
-
บ้านน้อยพัฒนา
5
68
68
-
บ้านยางเตี้ย
6
77
77
-
บ้านขะยูง
7
156
156
-
บ้านโนนสังข์
8
57
57
-
บ้านหนองตาด
9
75
75
-
บ้านศาลา
10
52
52
-
บ้านหนองบัวศรีสว่าง
11
62
62
-
1,016
1,016
-
8
5.3 การประปา
การดำเนินกิจการประปาให้กับประชาชน ในตำบลยางสว่าง อยู่ในความรับผิดชอบและดำเนินงานตำบลยางสว่าง ส่วนใหญ่ยังไม่มีประปาใช้ทุกหมู่บ้านดังนี้
ชื่อหมู่บ้าน
หมู่ที่
สถานการณ์ดาเนินกิจการประปา
มีระบบประปา
(อบต. บริหารจัดการ)
มีระบบประปา
(หมู่บ้านบริหารจัดการ)
ไม่มีระบบประปา
บ้านยาง
1
√
บ้านนางเข็ม
2
√
บ้าน แก่นท้าว- ดงดั่ง
3
√
บ้านกล้วย
4
√
บ้านน้อยพัฒนา
5
√
บ้านยางเตี้ย
6
√
บ้านขะยูง
7
√
บ้านโนนสังข์
8
√
บ้านหนองตาด
9
√
บ้านศาลา
10
√
บ้านหนองบัวศรีสว่าง
11
√
รวม
-
5
6
6. ระบบเศรษฐกิจ
6.1 การเกษตร
อาชีพหลักของประชาชนในตำบลยางสว่าง ได้แก่ การเกษตรกรรม มีประมาณ
ร้อยละ 95 ของจำนวนประชากรทั้งหมด 11 หมู่บ้าน
6.2 การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ
1) กลุ่มอาชีพของตำบลยางสว่าง จำนวน 11 หมู่บ้าน
9
6.3 แรงงาน
อาชีพหลักของประชาชนในเขตตำบลยางสว่าง ได้แก่ การเกษตรกรรม มีประมาณร้อยละ 95 และเมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรแล้วว่างงานจะเย็บถุงมือหนัง บางส่วนจะอพยพแรงงานชั่วคราวไปทำงานต่างถิ่น โดยแรงงานส่วนใหญ่จะอพยพเข้ากรุงเทพฯ และจังหวัดในภาคตะวันออก
7. เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้า)
หลักการและเหตุผล
คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2558 เห็นชอบให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ มีอำนาจหน้าที่ในการจัดทำร่างยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี เพื่อใช้ใน
การขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนและให้เสนอร่างยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบเพื่อใช้เป็นกรอบในการดำเนินงานในระยะที่ ๒ ของรัฐบาล (ปี 2558 - 2559) และกรอบการปฏิรูปในระยะที่ ๓ (ปี ๒๕๖๐ เป็นต้นไป) เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์และทำให้ประเทศไทยพัฒนาไปสู่อนาคตที่พึงประสงค์นั้น จำเป็นต้องมีกา รวางแผนและกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาในระยะยาวและกำหนดแนวทางการพัฒนาของทุกภาคส่วนให้ขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จากกรอบยุทธศาสตร์ชาติดังกล่าว องค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างได้เล็งเห็นถึงความสำคัญภายใต้วิสัยทัศน์ ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ) (Local Sufficiency Economy Plan: LSEP) จะทำให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีข้อมูลปัญหาความต้องการพื้นฐานของประชาชน รวมทั้งข้อมูลในการแก้ไขปัญหาภัยแล้ง โดยสำรวจข้อมูลให้ครบทุกหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อนำปัญหาความต้องการของประชาชนไปบรรจุไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่นเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งการสำรวจข้อมูลการเพาะปลูกพืชต่างๆ ของประชาชนและแหล่งน้ำ ทางการเกษตรที่เป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญรวมทั้งสภาวะการณ์ของน้ำอุปโภคบริโภคที่ดำรงอยู่จริงในชีวิตประจำวันของประชาชน เพื่อสะท้อนภาพของการดำเนินชีวิตที่รับรู้กันมาตลอดว่าเกษตรกรยากจน (ต้นทุนสูง ราคาขายต่ำ ฯลฯ) ซึ่งจากการสำรวจจะทำให้รู้ว่าเกษตรกร ในหมู่บ้าน/ชุมชนต่างๆ ปลูกพืชชนิดใด ผลผลิตต่อหน่วยเป็นอย่างไร มีแหล่งน้ำกินน้ำใช้ประเภทใดบ้าง เพียงพอและทั่วถึงหรือไม่ ซึ่งการสำรวจจะนำไปสู่การสำรวจเพื่อจัดทำระบบข้อมูลใน การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนด้านอื่นๆ เช่น สวัสดิการสังคม (เด็ก ผู้สูงอายุ คนพิการ) การศึกษา ศิลปวัฒนธรรม การท่องเที่ยว การดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ ขององค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างให้มีความครอบคลุม มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง
10
7.1 ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้านหรือชุมชน
ที่
ชื่อหมู่บ้าน/ชุมชน
จานวนประชากรทั้งหมด (คน)
ชาย
(คน)
หญิง
(คน)
ครัวเรือนทั้งหมด (ครัวเรือน)
พื้นที่ทั้งหมด (ไร่)
หมายเหตุ
1
บ้านยาง
748
366
382
159
353
2
บ้านนางเข็ม
576
291
285
129
256
3
บ้าน แก่นท้าว- ดงดั่ง
277
131
146
66
176
4
บ้านกล้วย
571
293
278
115
282
5
บ้านน้อยพัฒนา
302
142
160
68
138
6
บ้านยางเตี้ย
378
190
188
77
139
7
บ้านขะยูง
842
423
419
156
259
8
บ้านโนนสังข์
277
144
133
57
140
9
บ้านหนองตาด
378
188
190
75
119
10
บ้านศาลา
231
102
129
52
108
11
บ้านหนองบัวศรีสว่าง
275
135
140
62
123
รวม
4,855
2,405
2,450
1,016
2,093
จากตาราง ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้านหรือชุมชน ตำบลยางสว่าง มีประชากรทั้งสิ้น 4,855 คน แบ่งเป็น ชาย จำนวน 2,405คน เป็นหญิง จำนวน 2,450 คน มีจำนวนครั้วเรือนทั้งสิ้น 1,016 ครัวเรือน มีพื้นที่ทั้งสิ้น 2,093 ไร่
11
7.2 ข้อมูลด้านการเกษตร
ที่
ชื่อหมู่บ้าน/ชุมชน
ประเภทของการทาการเกษตร
ทานา
จานวน (ครัวเรือน/ไร่)
ผลผลิตเฉลี่ย
(กก./ไร่)
ต้นทุน
การผลิตเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
ราคาขาย
โดยเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
ในเขตชลประทาน
นอกเขตชลประทาน
1
บ้านยาง
-
353
1,000
20,000
15
2
บ้านนางเข็ม
-
256
1,000
20,000
15
3
บ้าน แก่นท้าว- ดงดั่ง
-
176
1,000
20,000
15
4
บ้านกล้วย
-
282
1,000
20,000
15
5
บ้านน้อยพัฒนา
-
138
1,000
20,000
15
6
บ้านยางเตี้ย
-
139
1,000
20,000
15
7
บ้านขะยูง
-
259
1,000
20,000
15
8
บ้านโนนสังข์
-
140
1,000
20,000
15
9
บ้านหนองตาด
-
119
1,000
20,000
15
10
บ้านศาลา
-
108
1,000
20,000
15
11
บ้านหนองบัวศรีสว่าง
-
123
1,000
20,000
15
รวม
-
2,093
1,000
20,000
15
จากตาราง ข้อมูลด้านการเกษตร ตำบลยางสว่าง มีจำนวนครัวเรือนที่ทำการเกษตร คือ ทำนาทั้งสิ้น 1,016 ครัวเรือน จำนวน 2,093 ไร่ ผลผลิตการเกษตรเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนการผลิตการเกษตรอยู่ที่ประมาณ 20,000 บาทต่อไร่ และราคาขายโดยเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 15 บาทต่อไร่
7.3 ข้อมูลด้านแหล่งน้าทางการเกษตร
แหล่งน้าทางการเกษตร ตำบลยางสว่าง มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ได้แก่ แหล่งน้ำธรรมชาติ ประกอบด้วย ห้วย/ลำธาร และหนองน้ำ/บึง และมีแหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น ประกอบด้วย สระ น้ำ ซึ่งความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตรตลอดทั้งปีส่วนใหญ่น้ำไม่เพียงพอที่จะใช้ในการทำการเกษตร และการเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตรไม่ทั่วถึง
7.4 ข้อมูลด้านแหล่งน้ากิน น้าใช้ (หรือน้าเพื่อการอุปโภค บริโภค)
ข้อมูลด้านแหล่งน้ากิน น้าใช้ (หรือน้าเพื่อการอุปโภค บริโภค) ตำบลยางสว่าง มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ได้แก่ บ่อบาดาลสาธารณะ ประปาหมู่บ้าน และแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยมี
12
แหล่งน้ำธรรมชาติมากที่สุด รองลงมาคือ ประปาหมู่บ้าน ซึ่งแหล่งน้ำที่มีไม่เพียงพอที่จะใช้ในการทำการเกษตร และการเข้าถึงแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อ การอุปโภค บริโภค) ยังไม่ทั่วถึง
8. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
8.1 การนับถือศาสนา ประชาชนของตำบลยางสว่างส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ
ที่
ชื่อวัด
สถานที่ตั้ง
ชื่อเจ้าอาวาส
หมายเหตุ
1
วัดสว่างบ้านยาง
บ้านยาง หมู่ที่ 1
พระอธิการบุดดี คุตตจิโต
2
วัดราษฎร์รัตนาราม
บ้านนางเข็ม หมู่ที่ 2
พระครูรัตนโชติกิจ
3
วัดปุาดงดั่ง
บ้านดงดั่ง-แก่นท้าว หมู่ที่ 3
พระอุทิศ ธัมมรักขิโต
4
วัดสว่างบ้านยาง(วัดปุาอาศรมธรรมบาล)
บ้านกล้วย หมู่ที่ 4
พระอธิการสรยุทธ ฐานธินโน
5
สำนักสงฆ์รัตนวราราม
บ้านน้อยพัฒนา หมู่ที่ 5
พระตั๋ง ปิยธรรมโม
6
วัดทุ่งไทรขะยูง
บ้านขะยูง หมู่ที่ 7
พระครูประภัสร์สารธรรม
7
สำนักสงฆ์บ้านหนองตาด
บ้านหนองตาด หมู่ที่ 9
-
8
สำนักสงฆ์สวนปุาบุรีรัตนาจารย์
ปุาดงโพนทราย หมู่ที่ 6
พระครูธรรมธรคำพันธ์
8.2 ประเพณีและงานประจาปี
1. ช่วงเดือนมกราคม
1.1 วันเด็กแห่งชาติ
2. ช่วงเดือนกุมภาพันธ์
2.1 การจัดงานประเพณีบุญผะเหวด
3. ช่วงเดือนมีนาคม
3.1 การจัดงานส่งเสริมจัดกิจกรรมวันท้องถิ่นไทย
4. ช่วงเดือนเมษายน
4.1 การจัดงานประเพณีสงกรานต์และรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ
13
4.2 การจัดงานบรรพชาอุปสมบทพระภิกษุสามเฌรและบวชศิลจาริณี
6. ช่วงเดือนพฤษภาคม - เดือนมิถุนายน
6.1 การจัดงานประเพณีบุญบั้งไฟของชุมชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง
7. ช่วงเดือนกรกฎาคม
7.1 การจัดงานประเพณีทำบุญเวียนรอบ
7.2 การจัดงานประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา
8. ช่วงเดือนสิงหาคม
8.1 กิจกรรมเทิดพระเกียรติ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ
11. ช่วงเดือนพฤศจิกายน
11.1 การจัดงานประเพณีลอยกระทง
12. ช่วงเดือนธันวาคม
12.1 การจัดงานวันสำคัญ เพื่อเทิดพระเกียรติ
8.3 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่ชาวบ้านคิดขึ้นได้เองและนำมาใช้ในการแก้ปัญหา เป็นเทคนิควิธีเป็นองค์ความรู้ของชาวบ้าน ทั้งทางกว้างและทางลึกที่ชาวบ้านคิดเอง ทำเอง โดยอาศัยศักยภาพที่มีอยู่แก้ปัญหาการดำเนินชีวิตในท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสมกับยุคสมัย ความเหมือนกันของภูมิปัญญาไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ เป็นองค์ความรู้ และเทคนิคที่นำมาใช้ใน การแก้ปัญหาและการตัดสินใจ ซึ่งได้สืบทอดและเชื่อมโยงมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
ภาษาถิ่น ประชาชนส่วนใหญ่ใช้ภาษาอีสาน เป็นภาษาถิ่นในการสื่อสารระหว่างกันของประชาชนใน
ตำบล
8.4 สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก 8.4.1 สื่อกก , ดอกไม้พลาสติก
9. ทรัพยากรธรรมชาติ
9.1 น้า
- ห้วยทับทัน
- หนองบัวนอก
- หนองบัวใน
- หนองยาง
- หนองไผ่
- หนองหัวแฮด
- หนองฆ่าหมู
14
9.2 ป่าไม้
-ป่าดงโพนทราย
9.3 คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource) คือ สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีประโยชน์สามารถสนองความต้องการของมนุษย์ได้ หรือมนุษย์สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ เช่น บรรยากาศ ดิน น้ำ ปุาไม้ ทุ่งหญ้า สัตว์ปุา แร่ธาตุ พลังงาน รวมทั้งกำลังจากมนุษย์ด้วย
การเรียนรู้ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสิ่งที่สำคัญ เป็นต้นทุนหรือวัตถุดิบที่มนุษย์นำมาใช้เพื่อความเจริญทางเศรษฐกิจ ประเทศใดก็ตามที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ ประเทศนั้นจะมีความร่ำรวยและมีความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ แต่เมื่อใดก็ตามที่มนุษย์นำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ไม่ถูกวิธีก็ทำให้ทรัพยากรธรรมชาติบางชนิดหมดสิ้นไปจากโลกนี้ได้ ดังนั้นจึงควรที่จะเรียนรู้ถึงความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ เรียนรู้ถึงประเภทของทรัพยากรธรรมชาติและเข้าใจถึงทรัพยากรธรรมชาติเหล่านั้นเพื่อการวางแผนการจัดการที่มีคุณภาพ
15
ส่วนที่ 2 สรุปผลการพัฒนาท้องถิ่นตามแผนพัฒนาท้องถิ่น(พ.ศ.2557-2560)
สรุปผลการดำเนินงานตามงบประมาณที่ได้รับและการเบิกจ่ายงบประมาณในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2557 2560
1.1 สรุปสถานการณ์การพัฒนา การตั้งงบประมาณ การเบิกจ่ายงบประมาณ
ปีงบประมาณ 2557
ตั้งงบประมาณรายรับไว้ 27,719,290 บาท
ประมาณการรายจ่ายไว้ 26,765,342 บาท
รายรับจริง 25,395,959 บาท
รายจ่ายจริง 23,376,194 บาท
ปีงบประมาณ 2558
ตั้งงบประมาณรายรับไว้ 29,948,620 บาท
ประมาณการรายจ่ายไว้ 29,798,620 บาท
รายรับจริง 30,563,181 บาท
รายจ่ายจริง 23,142,154 บาท
ปีงบประมาณ 2559
ตั้งงบประมาณรายรับไว้ 31,946,200 บาท
ประมาณการรายจ่ายไว้ 31,625,799 บาท
รายรับจริง บาท
รายจ่ายจริง บาท
16
ปีงบประมาณ 2560
ตั้งงบประมาณรายรับไว้ 49,010,085 บาท
ประมาณการรายจ่ายไว้ 49,010,085 บาท
1.2 การประเมินผลการนำแผนพัฒนาท้องถิ่นปฎิบัติในเชิงปริมาณและคุณภาพ
การบรรจุในข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ยุทธศาสตร์ โครงการตามแผน บรรจุในข้อบัญญัติ จานวน งบประมาณ จานวน งบประมาณ ยุทธศาสตร์ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 43 61,722,000 17 3,634,500.00 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ 15 3,910,000 1 17,270 ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพชีวิต 47 10,860,000 26 2,103,410 ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านพัฒนาสิ่งแวดล้อม 11 5,000,000 0 0 ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี 19 6,670,000 2 260,100 ยุทธศาสตร์ด้านการกระจายอานาจฯ 13 8,100,000 6 2,987,880 รวม 148 96,262,000 52 9,003,160 00
17
การบรรจุในข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ยุทธศาสตร์ โครงการตามแผน บรรจุในข้อบัญญัติ จานวน งบประมาณ จานวน งบประมาณ ยุทธศาสตร์ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 43 55,282,000 19 22,902,000 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ 15 3,910,000 0 0 ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพชีวิต 47 11,580,000 20 2,137,000 ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านพัฒนาสิ่งแวดล้อม 11 5,000,000 0 0 ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี 19 9,600,000 2 3,040,000 ยุทธศาสตร์ด้านการกระจายอานาจฯ 13 8,100,000 6 2,929,940 รวม 148 93,472,000 47 31,008,940 00
การบรรจุในข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ยุทธศาสตร์ โครงการตามแผน บรรจุในข้อบัญญัติ จานวน งบประมาณ จานวน งบประมาณ ยุทธศาสตร์ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 49 64,132,000 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ 15 4,310,000 ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพชีวิต 51 8,670,000 ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านพัฒนาสิ่งแวดล้อม 11 5,000,000 ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี 19 6,900,000 ยุทธศาสตร์ด้านการกระจายอานาจฯ 13 8,100,000 รวม 158 97,112,000 00
18
การบรรจุในข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ยุทธศาสตร์ โครงการตามแผน บรรจุในข้อบัญญัติ จานวน งบประมาณ จานวน งบประมาณ ยุทธศาสตร์ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 50 180,167,000 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ 15 4,310,000 ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพชีวิต 51 8,680,000 ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านพัฒนาสิ่งแวดล้อม 11 5,000,000 ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี 17 6,300,000 ยุทธศาสตร์ด้านการกระจายอานาจฯ 10 6,040,000 รวม 154 135,270,000 00
2.ผลที่ได้รับจากการดาเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ.2557-2560
2.1 ผลที่ได้รับหรือผลที่สาคัญ
ประชาชนตำบลยางสว่างได้รับการตอบสนองในการแก้ปัญหาตามงบประมาณที่องค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างได้รับจัดสรรซึ่งไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้เพียงพอในระดับที่พึงพอใจมากแต่ก็เป็นการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนได้รวดเร็วในระดับหนึ่งสามารถบรรเทาความเดือดร้อนให้ประชนได้ทันเหตุการณ์ลดความสูญเสียให้กับประชาชน
2.2 ผลกระทบ
ยังไม่พบรายงานที่ประชาชนได้รับความเดือดร้อนจากการดำเนินโครงการขององค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง
19
3.สรุปปัญหาและอุปสรรคการดาเนินงานที่ผ่านมาและแนวทางแก้ไข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557-2560
อุปสรรคภายนอก
สภาพภูมิอากาศที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ทำให้การวางแผนโครงการพัฒนาหลายโครงการมาสามารถแก้ปัญหาได้ทัน เช่น ภัยแล้ง อุทกภัย วาตภัย
ปัญหาภายใน
งบประมาณในการดำเนินการที่รอบรับจัดสรรจากรัฐบาลเป็นหลักทำให้สามารถดำเนินการตามแผนดำเนินงานได้ตามกำหนด
20
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. ความสัมพันธ์ระหว่างแผนพัฒนาระดับมหภาค
1.1 แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
2. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 2579) 6 ยุทธศาสตร์
1. ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง
2. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
4. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม
5. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
6. ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
1.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 2564)
วิสัยทัศน์
จากสถานะของประเทศและบริบทการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่ประเทศกำลังประสบอยู่ ทำให้การกำหนดวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยังคงมีความต่อเนื่องจากวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 และ กรอบหลักการของการวางแผนที่น้อมนำและประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม การพัฒนาที่ยึดหลักสมดุล ยั่งยืน โดยวิสัยทัศน์ของการพัฒนาใน แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ต้องให้ความสำคัญกับการกำหนดทิศทางการพัฒนาที่มุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านประเทศไทย จากประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง มีความมั่นคง และยั่งยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข และนำไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ระยะยาว มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ของประเทศ
เป้าหมายการพัฒนาประเทศ
1. การหลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลางสู่รายได้สูง
(1) เศรษฐกิจขยายตัวเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 5.0
(2) ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อหัว (GDP Per Capita) และรายได้ประชาชาติต่อหัว (GNP Per Capita) ณ สิ้นแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ในปี 2564 เพิ่มขึ้นเป็น 317,051 บาท (9,325 ดอลลาร์สรอ.) และ 301,199 บาท (8,859 ดอลลาร์ สรอ.) ต่อคนต่อปี
(3) ผลิตภาพการผลิตเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่าเฉลี่ยร้อยละ 2.5 ต่อปี
(4) การลงทุนรวมขยายตัวไม่ต่ำกว่าเฉลี่ยร้อยละ 8.0 (การขยายตัวของการ ลงทุนภาครัฐไม่ต่ำกว่าร้อยละ 10.0 และการลงทุนของภาคเอกชนขยายตัวไม่ต่ำกว่าเฉลี่ยร้อยละ 7.5 ในขณะ ที่ปริมาณการส่งออกขยายตัวเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 4.0 ต่อปี)
2. การพัฒนาศักยภาพคนให้สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศและการสร้าง สังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ
21
(1) ประชาชนทุกช่วงวัยมีความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม (SocioEconomic Security) และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
(2) การศึกษาและการเรียนรู้ได้รับการพัฒนาคุณภาพ
(3) สถาบันทางสังคมมีความเข้มแข็งเป็นฐานรากที่เอื้อต่อการพัฒนาคน
3. การลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
(1) การกระจายรายได้มีความเท่าเทียมกันมากขึ้น
(2) บริการทางสังคมมีคุณภาพและมีการกระจายอย่างทั่วถึง
4. การสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
(1) รักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร สร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และ การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและเป็นธรรม
(2) ขับเคลื่อนประเทศสู่เศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
(3) เพิ่มขีดความสามารถในการรับมือภัยพิบัติและการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ
(4) เพิ่มประสิทธิภาพและเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(5) มีการบริหารจัดการน้้าให้สมดุลระหว่างการอุปสงค์และอุปทานของน้้า
5. การบริหารราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพ
(1) การบริหารงานภาครัฐที่โปร่งใส เป็นธรรม มีประสิทธิภาพ และมีส่วนร่วม
(2) ขจัดการทุจริตคอร์รัปชั่น
(3) มีการกระจายอำนาจที่เหมาะสม
กรอบยุทธศาสตร์แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ประกอบด้วย 10 ยุทธศาสตร์หลัก ดังนี้
1.ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
2.ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
3.ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
4.ยุทธศาสตร์ด้านการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
5.ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง
6.ยุทธศาสตร์ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพและธรรมาภิบาลในภาครัฐ
7.ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
8.ยุทธศาสตร์ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม
9.ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคเมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ
10.ยุทธศาสตร์ด้านการต่างประเทศ ประเทศเพื่อนบ้าน และภูมิภาค
22
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสุรินทร์ 4 ปี พ.ศ.2561-2564
วิสัยทัศน์ (Vision)
เมืองเกษตรอินทรีย์ ท่องเที่ยววิถีชุมชน ประชาชนมีคุณภาพ
พันธกิจ (Mission)
1. ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรอินทรีย์
2. สนับสนุนพัฒนาการค้า การลงทุนและการท่องเที่ยว
3. ส่งเสริมการบริหารจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
4. ส่งเสริมและพัฒนาการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคง
5. ส่งเสริมคุณภาพชีวิตประชาชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด (Strategic Issues)
1. ยุทธศาสตร์การเพิ่มศักยภาพภาคการเกษตร
2. ยุทธศาสตร์การยกระดับความสามารถในการแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจและบริการ
3. ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
4. ยุทธศาสตร์ด้านการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน
5. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความมั่นคง
เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ (Goals)
1. ยุทธศาสตร์การเพิ่มศักยภาพภาคการเกษตร
- เพื่อลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร
2. ยุทธศาสตร์การยกระดับความสามารถในการแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจและบริการ
- เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับประชาชน
3. ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
- เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวและรักษาสิ่งแวดล้อมให้สมดุล
4. ยุทธศาสตร์ด้านการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน
- เพื่อให้ประชาชนมีความสุขและสังคมร่มเย็น
5. ยุทธศาสตร์เสริมสร้างความมันคง
- เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงในพื้นที่
กลยุทธ์ (Strategies)
1. ยุทธศาสตร์การเพิ่มศักยภาพภาคการเกษตร
1.1 ส่งเสริมการทำเกษตรอย่างยั่งยืนและขับเคลื่อนการผลิตเกษตรอินทรีย์
1.2 ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานตามความต้องการของตลาด
23
1.3 สร้างความเข้มแข็งให้แก่เกษตรและสถาบันเกษตรกร
1.4 พัฒนาและบริหารจัดการระบบโครงการสร้างพื้นฐานเพื่อการเกษตร
2. ยุทธศาสตร์การยกระดับความสามารถในการแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจและบริการ
2.1 ยกระดับขีดความสามารถการแข่งขันการลงทุนสินค้าและบริการทั้งในและต่างประเทศ
2.2 เพิ่มศักยภาพและมูลค่าผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น
2.3 พัฒนากำลังคนเพื่อรอรับการแข่งขันทางการค้า การลงทุน การบริการและท่องเที่ยว
3. ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
3.1 ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้ยั่งยืน
3.2 ส่งเสริมการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาพลังงานทางเลือก
4.ยุทธศาสตร์ด้านการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน
4.1 เสริมสร้างศักยภาพการพึ่งพาตนเองของประชาชน
4.2 ส่งเสริมให้ภาคประชาชนและกลุ่มองค์กรมีความเข้มแข็ง
4.3 ส่งเสริมอาชีพทักษะชีวิต และสุขภาวะแก่ประชาชน
5. ยุทธศาสตร์ด้านการเสริมสร้างความมั่นคง
5.1 พัฒนาองค์กร หมู่บ้าน เพื่อความมั่นคงและความสงบเรียบร้อย
5.2 ส่งเสริมการรักษาความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินตามแนว
ชายแดน
5.3 ส่งเสริมและพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน
แผนงาน (Plan)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์(พ.ศ. 2560-2562)
วิสัยทัศน์
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดสุรินทร์(พ.ศ.2560-2562)
วิสัยทัศน์ (Vision)
เมืองเกษตรอินทรีย์วิถีช้างไทยผ้าไหมสุรินทร์สู่สากล
Organic Silk Route city of Thailand Surin Elephant internationally.
ยุทธศาสตร์
1. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาศักยภาพภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
1.1 พัฒนาระบบการเกษตรให้เหมาะสมกับพื้นที่ (โซนนิ่ง)
1.2 เพิ่มขีดความสามารถด้านพื้นที่การผลิตและการแปรรูปการเกษตรให้ได้มาตรฐาน
1.3 สร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกรและองค์กรเกษตรกร
1.4 ส่งเสริมและเพิ่มช่องทางการตลาด
1.5 เพิ่มพื้นที่เกษตรอินทรีย์และกลุ่มเกษตรกรมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น
1.6 การพัฒนาแหล่งน้ำและบริหารจัดการน้ำอย่างมีระบบ
24
2. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจการค้าการลงทุนและการท่องเที่ยว
2.1 ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้ได้คุณภาพ
2.2 การพัฒนาฟี้นฟูแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวิติศาสตร์วัฒนธรรมอารยธรรมขอม เชิงนิเวศน์เชิงเกษตร ให้เกิดความยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
2.3 ยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดสากล
2.4 การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน สิ่งอำนวยความสะดวก
2.5 การส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าไหม ผลิตภัณฑ์ชุมชน และสินค้าเกษตรให้มีคุณภาพและมาตรฐานตรงกับความต้องการของตลาด
2.6 ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรด้านการค้าการลงทุนและการท่องเที่ยว
2.7 ส่งเสริมการค้าการลงทุนการตลาดการท่องเที่ยวและการประชาสัมพันธ์
3. ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
3.1 ส่งเสริมการอนุรักษ์ฟื้นฟูปูองกันและการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วม
3.2 การบริหารจัดการขยะและสิ่งปฏิกูล
3.3 ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนเพื่อสร้างความมั่นคงทางพลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม
3.4 พัฒนาแหล่งน้ำและระบบบริหารจัดการน้ำให้มีประสิทธิภาพ
3.5 การสร้างสภาพแวดล้อมที่ดี
4. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
4.1 การส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
4.2 การพัฒนาแหล่งเรียนรู้และการส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้
4.3 การส่งเสริมกีฬา นันทนาการและการพัฒนากีฬาสู่ความเป็นเลิศ
4.4 ส่งเสริมและสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์กรรวมของประชาชนให้แข็งแรง
4.5 การพัฒนาบุคลากรด้านสุขภาพให้มรสรรถนะที่เหมาะสมในการปฏิบัติงาน
4.6 การเสริมสร้างความมั่นคงของสังคมภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
4.7 การพัฒนาคุณธรรมจริยธรมและเสริมสร้างอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีที่ดีงาม
4.8 เสริมสร้างโอกาสให้ประชาชนมีงานทำ มีรายได้
4.9 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมือง การปกครอง ในระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
4.10 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายเฝูาระวังและการปูองกันแก้ไขปัญหาทางสังคม
4.11 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคประชาชน
4.12 การส่งเสริมให้สถาบันครอบครัวและชุมชนมีความเข้มแข็ง
4.13 การพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ด สตรี คนชรา คนพิการ
25
5. ยุทธศาสตร์ด้านการเสริมสร้างความมั่นคงชายแดน
5.1 พัฒนาศักยภาพหมู่บ้าน/ชุมชนชายแดน
5.2 การพัฒนาความสัมพันธ์ด้านประเพณีศิลปวัฒนธรรมศาสนา และกีฬา กับประเทศเพื่อนบ้าน
5.3 การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่ชายแดน
5.4 การรักษาความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ตามพื้นที่ชายแดน
2.ยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. วิสัยทัศน์การพัฒนา (Vision)
องค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง เน้นส่งเสริมให้สังคมและชุมชนมีความเข้มแข็งเพื่อพัฒนาและพึ่งพาตนเอง อย่างเต็มศักยภาพตามครรลองประชาธิปไตย และยึดหลัก 4 ประการ คือ ความโปร่งใส ความเป็นธรรม ความประหยัด และความมีประสิทธิภาพในการทำงาน โดยองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างมี
ชุมชนน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม ก้าวนาการศึกษา สาธารณูปโภคก้าวไกล ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
2. พันธกิจการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตาบลยางสว่าง (Mission)
2.1 ส่งเสริมสุขภาพประชาชนในพื้นที่ตำบลอย่างทั่วถึงทุกคน
2.2 ปูองกันและระงับโรคติดต่อ
2.3 ปรับปรุงภูมิทัศน์ในชุมชน/หมู่บ้าน
2.4 ส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาทุกระดับ
2.5 ปรับปรุงซ่อมบำรุงและก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่ตำบลยางสว่าง
2.6 ส่งเสริมการประกอบอาชีพและส่งเสริมด้านการตลาด
2.7 ส่งเสริมและจัดให้มีไฟฟูาใช้ทุกครัวเรือนและให้มีไฟฟูาสาธารณะครอบคลุมทุกพื้นที่
2.8 จัดให้มีระบบประปาหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน และปรับปรุงคุณภาพน้ำเพื่อการบริโภค
2.9 จัดกิจกรรมทางศาสนาและส่งเสริมให้ประชาชนปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างต่อเนื่อง
2.10 ปูองกันและปราบปรามยาเสพติดในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง
26
3. จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตาบลยางสว่าง (Goals)
3.1 ลดต้นทุนทางการผลิต เพิ่มผลผลิต และพัฒนาคุณภาพผลิตผลทางการเกษตร
3.2 ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
3.3 ประชาชนมีอาชีพและรายได้ที่พอเพียงและมีอาชีพเสริม
3.4 การสงเคราะห์ให้ความช่วยเหลือ ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ปุวยเอดส์และผู้ด้อยโอกาสอย่างทั่วถึง
3.5 มีแหล่งน้ำสำหรับพื้นที่การเกษตรอย่างพอเพียง
3.6 ประชาชนมีน้ำประปาที่สะอาดได้มาตรฐานและเพียงพอต่อการอุปโภคบริโภค
3.7 พัฒนาเส้นทางคมนาคม เพื่อให้การติดต่อสื่อสาร การสัญจรไปมาของประชาชนได้รับความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัยประชาชนมีไฟฟูาใช้เพียงพอทุกครัวเรือนโดยการขยายเขตไฟฟูาย้ายเสาไฟฟูาเพิ่มแรงดันไฟฟูาเพิ่มไฟส่องทางสาธารณะ
3.8 ประชาชนทุกเพศ ทุกวัย มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ห่างไกลจากยาเสพติด
3.9 ส่งเสริมและพัฒนาการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น
3.10 ประชาชนมีช่องทางในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย และรวดเร็วและชัดเจน
3.11 ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าใจในบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมในการพัฒนาตำบล
3.12 ประชาชนมีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม มีสุขภาพที่ดี และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
3.13 องค์การบริหารส่วนตำบลมีศักยภาพในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมกันแก้ไขปัญหาชุมชนได้อย่างรวดเร็ว
3.14 ประชาชนมีความตื่นตัวในการฟื้นฟู อนุรักษ์ และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3.15 การบริหารงานทั่วไป การบริหารงานบุคคลและการบริหารงานคลัง ขององค์การ- บริหารส่วนตำบลเป็นไปอย่างถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ ตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
3.16 พัฒนาการบริการประชาชน มีความสะดวก รวดเร็ว และเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
27
1.ยุทธศาสตร์
การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
แนวทางการพัฒนา
1. พัฒนาระบบการคมนาคม และการขนส่งให้มีความสะดวกปลอดภัยและเพียงพอต่อความต้องการของประชาชน
2. พัฒนาระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการให้เพียงพอต่อความต้องการของประชาชน
เป้าประสงค์
1. เพื่อให้ตอบสนองและบริการประชาชนได้อย่างทั่วถึงและมีมาตรฐานมีความเป็นธรรม
2.ประชาชนมีส่วนเป็นเจ้าของและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาศักยภาพด้านความเป็นอยู่ตามความจำเป็นขั้นพื้นฐานเป็นอย่างต่ำ
3.เพื่อการคมนาคมที่สะดวกปลอดภัย
เป้าหมาย
1.ให้มีโครงสร้างพื้นฐานทุกด้านอย่างทั่วถึงและมีมาตรฐานตามแบบกระทรวงมหาดไทยกำหนด
2. มุ่งให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลรักษา และการใช้ประโยชน์ในรูปกลุ่มผู้ใช้ / กลุ่มผู้ดูแลรักษา เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
2.ยุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจชุมชน
แนวทางการพัฒนา
1. สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตลอดจนรณรงค์ให้มีการปลูกปุาทดแทน บำบัดและกำจัดขยะ ปรับปรุงภูมิทัศน์ส่งเสริมให้ประชาชนปลูกปุาเพื่อทดแทนปุาที่ถูกทำลาย 2. ส่งเสริมให้ชุมชนภาคราชการภาคเอกชน ผนึกกำลังกันบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามแนวทางโครงการตามแนวพระราชเสาวนีย์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถอย่าง
28
ต่อเนื่องโดยมุ่งหมายให้คนกับธรรมชาติอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืนเน้นการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาผสมผสาน เพื่อให้บรรลุเปูาหมาย
3. สนับสนุนให้ประชาชน / ชุมชน มีความตระหนักในการอนุรักษ์ หวงแหน ใช้ประโยชน์ และจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยแนวทางของจารีตประเพณีท้องถิ่น รวมทั้งพิษร้ายของการทำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
4. กำกับดูแล และประสานการปฏิบัติให้ส่วนราชการ / ชุมชน ดำเนินมาตรการโครง
การตามแนวพระราชเสาวนีย์ ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ อย่างต่อเนื่อง
5. ดำเนินมาตรการทางกฎหมายต่อผู้กระทำผิดอย่างเฉียบขาด
6. ส่งเสริมการดำเนินการตามแนวทางฟื้นฟูธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยวิธีธรรมชาติ
ลดการพึ่งพาเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ก่อให้เกิดปัญหาในระยะยาว
เป้าประสงค์
1. เพื่อให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้รับการฟื้นฟูให้กลับคืนสู่ความสมดุล
2. เพื่อให้คนกับธรรมชาติอยู่ร่วมกันได้โดยไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน
3. เพื่อให้ทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นสมบัติสาธารณะ ได้รับการคุ้มครอง และอนุรักษ์สงวนไว้ 4. เพื่อให้ประชาชนมีจิตสำนึกร่วมกันรักษาสิ่งแวดล้อม
เป้าหมาย
1. เพิ่มจำนวนต้นไม้ในพื้นที่ปุาต้นน้ำลำธาร โดยเฉพาะปุาต้นน้ำห้วยทับทัน ปุาเสื่อมโทรม ทำเลเลี้ยงสัตว์สองข้างทางตำบล หมู่บ้าน ที่สาธารณประโยชน์ และสถานที่ราชการ
2. สร้างความรู้ ความเข้าใจ และกระตุ้นให้เกิดจิตสำนึกการอยู่ร่วมกันกับปุาไม้ ในลักษณะเกื้อกูลกันตามแนวทางปุาชุมชน
3. กระตุ้นส่งเสริมให้ชุมชนวางแผนการ ดำเนินการโครงการตามแนวพระราชเสาวนีย์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ อย่างต่อเนื่อง
29
3.ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสังคมและคุณภาพชีวิต
แนวทางการพัฒนา
1. พัฒนาและขยายผลการดำเนินโครงการตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง ให้บังเกิดผลเป็นรูปธรรมและยั่งยืน
2. สนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มอาชีพกลุ่มการผลิตในรูปสหกรณ์ รวมทั้งการออมทรัพย์ เพื่อจัดตั้งกองทุนแต่ละชุมชน
3. สนับสนุนการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจและทักษะในการประกอบอาชีพเสริม /
การหริหารจัดการ / การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรในครัวเรือน และในรูปอุตสาหกรรมในอนาคต
4. ส่งเสริมให้ท้องถิ่นสนับสนุนการจัดการแหล่งท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบโดยไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม
5. ขจัดเงื่อนไขการเรียกร้องและการดำเนินการที่ทำให้เกิดความเดือดร้อนเป็นส่วนรวม โดยทุกฝุายร่วมมือกันในรูปพยุหภาคี
6. สงเคราะห์ช่วยเหลือผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสทางสังคม
7.รณรงค์ให้ประชาชนเห็นความสำคัญของการศึกษาและร่วมกันทุกฝุายขยายโอกาสทางการศึกษา ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่
8. การส่งเสริมคุณภาพ มุ่งให้ความรู้ด้านสุขภาพอนามัยแก่ประชาชนให้สามารถดูแลปูองกันและควบคุมสาเหตุของโรค เพื่อลดอัตราการปุวย ตาย จากโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ และปัญหาจากการกระทำของมนุษย์
9. การบริการด้านสาธารณสุข พัฒนาขอบเขตการให้บริการให้ครอบคลุมทั่วถึง โดยพัฒนารูปแบบการให้บริการ ให้เพียงพอความต้องการ
10. ฟื้นฟู / สืบทอดศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น เน้นภูมิปัญญาชาวบ้าน
30
เป้าประสงค์
1. เพื่อให้มีการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เพื่อเพิ่มคุณภาพและราคา รวมทั้งการจ้างงาน
2. เพื่อมุ่งส่งเสริมให้ประชาชนมีอาชีพเสริม
3. เพื่อให้มีการรวมตัวกันของเกษตรกรและคนในชุมชนเพื่อดำเนินกิจกรรมที่เอื้อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ เช่น กลุ่มออมทรัพย์ สหกรณ์ ร้านค้าชุมชน ลานจำหน่ายผลผลิต
เป้าหมาย
1. อบรมเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจด้านวิชาการเทคโนโลยี ตลอดจนความรู้ทางการบริหารจัดการแก่ชุมชน กลุ่มต่าง ๆ
2. ส่งเสริมให้มีการนำผลผลิตทางการเกษตรไปแปรรูปเพื่อเก็บไว้บริโภคและจำหน่าย
3.ส่งเสริมความรู้ความสามรรถด้านฝีมือแรงงานหัตถกรรมและอุตสาหกรรมในครัวเรือน เช่น ทอผ้าไหม ผลิตภัณฑ์ไม้ไผ่ การตัดเย็บเสื้อผ้า เพื่อเป็นอาชีพเสริม
4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวทางการพัฒนา
1. ปรับปรุงประสิทธิภาพลดความซ้ำซ้อนของงานและขั้นตอนการปฏิบัติเพื่อความรวดเร็วในการบริการประชาชน โดยคำนึงถึงความเป็นธรรม
2. ส่งเสริมการสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างภาคราชการ ประชาชน โดยเป็นการเปิดเผยข้อมูล การประชาสัมพันธ์ และความโปร่งใสในการทำงาน
3. บริหารจัดการภาครัฐให้ดำเนินไปเพื่อความอยู่ดีมีสุขของประชาชนทุกกระบวนการจะต้องคำนึงถึงประชาชน การมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อให้เกิดการปกครองที่ดี
4. ขจัดความซ้ำซ้อนในภารกิจภาครัฐประสานสอดคล้องระหว่างภูมิภาคและท้องถิ่น
มุ่งเปูาหมายประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุดเป็นหลัก
เป้าประสงค์
1.เพื่อให้อบต.เป็นศูนย์การวางแผนการสนับสนุนการพัฒนาการรักษาความสงบเรียบร้อย การบริการและการประสานงาน
31
2. เพื่อให้อบต.เป็นเปูาหมายนำในการบำบัดทุกข์บำรุงสุข โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน ตามแนวทางประชาธิปไตย
3.เพื่อให้ทุกฝุายปฏิบัติงานประสานสอดคล้องไปในทิศทางยุทธศาสตร์แนวทางเดียวกัน โดยมีประชาชนเป็นเปูาหมาย
เป้าหมาย
1.เพื่อให้อบต.มีบทบาทเต็มศักยภาพในการแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง
2. พัฒนาการบริหาร บริการ ให้สอดคล้องกับกระแสโลกาภิวัฒน์
3. ประชาชนเป็นผู้กำหนดทิศทางการบริหารจัดการภาครัฐและมีส่วนร่วมการตรวจสอบด้วย
5. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาด้านการเมืองการบริหาร
แนวทางการพัฒนา
1.สนับสนุนวัสดุ อุปกรณการศึกษา เทคโนโลยีทางการเรียนการสอน
2.การปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
3.การรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
เป้าประสงค์
1.เพื่อให้เด็กมีวัสดุการเรียนอย่างทั่วถึง
2.เพื่อสนับสนุนการแก้ไขปัญหายาเสพติด
3.เพื่อลดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สิน
6. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาด้านการกระจายอานาจฯ
แนวทางการพัฒนา
1.การรณค์การขับขี่ปลอดภัยทางถนน
2.การอบรมกลุ่มอาชีพในชุมชน
32
เป้าประสงค์
1.เพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชน
2.เพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุในช่วงเทศกาล
2.7 จุดยืนทางยุทธศาสาตร์
องค์การบริหารสาวนตำบลยางสว่างได้กำหนดจุดยืนทางยุทธศาสตร์ไว้ตามยุทธศาสตร์และกลยุทธ์การพัฒนาทั้งหมด 6 ยุทธศาสตร์
2.8 ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์ในภาพรวม
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ยุทธศาสตร์จังหวัด : ยุทธศาสตร์ที่2 การพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
ยุทธศาสตร์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : ยุทธศาสตร์ที่ 1 การก่อสร้าง ปรับปรุง บำรุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้ำ ขุดลอกแหล่งน้ำ
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านเศรษฐกิจ
ยุทธศาสตร์จังหวัด : ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสนอภาค
ยุทธศาสตร์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : ยุทธศาสตร์ที่2 ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจการค้าการลงทุน และการท่องเที่ยว
ความเชื่อมโยง ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาด้านภาพชีวิต
ยุทธศาสตร์จังหวัด 4 การพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสนอภาค
ยุทธศาสตร์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์จังหวัด : ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ยุทธศาสตร์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านสิ่งแวดล้อมการสร้างจิตสำนึกและตระหนักในการจัดการทรัพยากรน้ำ และสิ่งแวดล้อม
33
ยุความเชื่อมโยงทางยุทธศาสตร์ที่ 5
ยุทธศาสตร์จังหวัด : ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
ยุทธศาสตร์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาองค์กรและการบริหารจัดการที่ดี
ยุความเชื่อมโยงทางยุทธศาสตร์ที่ 6
ยุทธศาสตร์จังหวัด : ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
ยุทธศาสตร์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : ยุทธศาสตร์ที่ 6 การกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3.การวิเคราะห์เพื่อพัฒนาท้องถิ่น
3.1 การวิเคราะห์การจัดทำกรอบยุทธศาตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ใช้การวิเคราะห์ swot Analysis/ Demand ( Demand Analysis ) / Glolal Demandและ Trend ปัจจัยและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการพัฒนา อย่างน้อยต้องประกอบด้วย การวิเคราะห์ศักยภาพด้านเศรษฐกิจด้านสังคม ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม )
ปัจจัยและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการพัฒนา
ก. โครงสร้างพื้นฐาน
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน และการให้บริการสาธารณะภายในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างยังคงเป็นปัญหาหลักต่อความต้องการของประชาชนในพื้นที่ซึ่งปัจจัยหลักในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานก็คือด้านงบประมาณดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างซึ่งเป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องบริหารงบประมาณที่มีอยู่อย่างจำกัดแก้ปัญหาโครงสร้างพื้นฐานให้เหมาะสมและเป็นธรรมอย่างที่สุดส่วนอีกปัญหาที่สำคัญและจำเป็นจะต้องวางแผนรองรับความเจริญเติบโตทั้งด้านเศรษฐกิจและการขยายตัวของชุมชนคือการวางแผนผังเมืองเพื่อจัดระบบผังเมืองรองรับปัญหาในอนาคตซึ่งปัญหาผังเมืองนี้ในเมืองใหญ่ๆหรือชุมชนใหญ่กำลังประสบปัญหามากเพราะไม่มีการวางแผนรองรับการเจริญเติบโตในอนาคตสำหรับองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างต้องให้ความสำคัญกับปัญหาการวางแผนผังเมืองเพื่ออนาคตจะไม่ประสบปัญหาหรือประสบกับปัญหาก็ไม่รุนแรงมากนัก
34
ขอบเขตและปริมาณของปัญหา พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย
1.เส้นทางคมนาคม ส่วนใหญ่เส้นทางคมนาคมภายในหมู่บ้านมีสภาพเป็นคอนกรีตแต่ด้วยอายุการใช้งานนานทำให้เป็นหลุมเป็นบ่อ มีน้ำขัง ขรุขระ สัญจร ยาก
2.ทางระบายน้ำยังไม่เพียงพอ ทำให้เกิดปัญหาน้ำท่วมขังภายในหมู่บ้านทำให้ชาวบ้านยังมีความต้องการด้านร่องระบายน้ำมาก
3.แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร บางแห่งยังมีสภาพแคบและตื้นเขิน ร่องส่งน้ำมีวัชพืชปกคลุม หนองน้ำแห้งในฤดูแล้ง
4.ไฟฟูาและแสงสว่าง ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างทั้ง ๑๑ หมู่บ้านยังคงต้องการไฟฟูาแสงสว่างตามถนน และ แยกต่างภายในหมู่บ้าน
ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐานสามารถพัฒนาหรือแก้ไข ปรับปรุงได้ โดยการจัดหาเงินงบประมาณให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน และในส่วนของพื้นที่ เขตติดต่อกับตำบลข้างเคียง หรือโครงการ/กิจกรรมที่เกินศักยภาพ จะนำแนวทางการจัดทำแผนและประสานแผนพัฒนา เพื่อดำเนินการของงบสนับสนุนจากหน่วยงายที่เกี่ยวข้อง
ความต้องการของประชาชน
1. ก่อสร้าง ปรับปรุง เส้นทางการคมนาคมให้สะดวก ทั่วถึงและครอบคลุมทุกหมู่บ้าน
2. ก่อสร้างรางระบายน้ำเพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขัง
3. ขยายเขตไฟฟูาให้ถึงที่ทำการเกษตร และขยายเขตไฟฟูาสาธารณะให้ครอบคลุมทุกพื้นที่
4. สนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพแก่ประชาชน
5. สนับสนุนอาชีพเสริมและการพัฒนาอาชีพ
ข. ด้านเศรษฐกิจ
ปัญหา
ในด้านเศรษฐกิจนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างยังต้องพึ่งพาระบบเศรษฐกิจแบบเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ส่วนอาชีพอื่นเช่นค้าขายธุรกิจรับเหมาข้าราชการรัฐวิสาหกิจยังถือเป็นส่วนน้อยเมื่อเทียบการทำนาในภาพรวมแล้วเมื่อเศรษฐกิจภายในชุมชนองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างยังไม่มีจุดขายทางด้านเศรษฐกิจไม่มีพืชเศรษฐกิจที่เด่นชัดที่จะดึงดูดการลงทุนจากภายนอกดังนั้นจึงเป็นปัญหาสำคัญที่จะต้องคิดต่อไปว่าทำอย่างไรจึงจะทำให้เศรษฐกิจภายในชุมชนสร้างจุดขายออกมาให้เห็นเพื่อเป็นตัวกระตุ้นเศรษฐกิจให้น่าลงทุนในด้านอื่นๆสร้างรายได้ให้ประชาชนมากขึ้น
ในด้านศักยภาพในการบริหารงานการแก้ปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง ยังต้องอาศัยงบประมาณในการแก้ไขจัดการปัญหาต่างๆเช่นปัญหาโครงสร้างพื้นฐานปัญหาด้านสังคม ปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหาเรื่องน้ำปัญหาราคาพืชผลทางการเกษตรปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาไม่มีแหล่งจ้างงานภายในชุมชนปัญหา
35
ประชาชนไม่มีอาชีพเสริมหลังจากฤดูเก็บเกี่ยว ฯลฯซึ่งปัญหาที่กล่าวมา ถือเป็นปัญหาเร่งด่วนบางปัญหาจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องอาศัยความร่วมมือจากหน่วยงานอื่นพร้อมทั้งยังต้องอาศัยงบประมาณที่มีอยู่ที่ค่อนข้างจะจำกัดเพื่อบริการจัดการปัญหาให้เกิดประโยชน์เป็นฐานในด้านเศรษฐกิจกระตุ้นการใช้จ่ายการลงทุนภายในท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง ให้ขยายตัวมากขึ้นในอนาคต
ขอบเขตและปริมาณของปัญหา พื้นที่เปูาหมาย กลุ่มเปูาหมาย ประชาชนส่วนใหญ่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง มีอาชีพหลัก คือ การทำนารองลงมาเป็นอาชีพรับจ้างและค้าขาย ขอบเขตและปริมาณของปัญหา หรือกลุ่มเปูาหมาย ก็ยังเป็นกลุ่มเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ฉะนั้น อาจรวมกลุ่มผู้มีความเชี่ยวชาญในการพัฒนาภาคการเกษตร มาให้ความรู้ ความเข้าใจ ในทุกๆ ด้าน
การคาดการณ์แนวโน้มในอนาคต ภาคการเกษตร เป็นสิ่งสำคัญยิ่งที่จะต้องดำเนินการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง เล็งเห็นความสำคัญเป็นอย่างมาก การจัดสรรงบประมาณ การจัดทำโครงการ/กิจกรรมจะเน้นหนักในเรื่องของภาคการเกษตร อีกทั้ง การเพิ่มพูนความรู้ ให้กับเกษตรกร เป็นนโยบายที่ต้องดำเนินการในอนาคตอย่างแน่นอน
ความต้องการของประชาชน
ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างต้องการงบประมาณในการส่งเสริมอาชีพ การส่งเสริมผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพ เช่น สื่อทอจากก ดอกไม้พลาสติก สมุนไพรพื้นเมือง ให้มีตลาดรองรับซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างรายได้ทั้งเป็นรายได้หลักและเป็นรายได้เสริม สำหรับกลุ่มปลูกข้าวต้องการ เครื่องคัดแยกพันธ์ข้าว ให้ได้พันธ์ที่ดี ไม่ปลอมปน มีราคาที่สูง ลดปัญหาการกดราคาผลผลิต และลดต้นทุนไม่ต้องซื้อพันธ์ข้าวใหม่ในฤดูทำนาต่อไป
ค. ด้านสังคม
ปัญหา
สังคมโดยรวมภายในองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างยังเป็นสังคมชนบท กรรมวิธีทางด้านการเกษตรยังอาศัยแรงงานคนยังเป็นสังคมระบบอุปถัมภ์แม้จะมีการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นมากขึ้นแต่ประชาชนก็ยังไม่ใช้สิทธิหน้าที่ของตนเองที่มีอยู่ตามรัฐธรรมนูญเพื่อให้การบริหารงานเป็นไปตามเจตนารมย์ของรัฐธรรมนูญและปูองกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้
สำหรับปัญหาที่น่าจะมีผลกระทบต่อองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง ดังนี้
1. ปัญหายาเสพติดในชุมชน
2. ปัญหาการอพยพแรงงานในฤดูแล้งทำให้เกิดปัญหาต่างๆตามมามากมาย
3 ปัญหาสวัสดิการของผู้สูงอายุ/ผู้พิการ/ผู้ด้อยโอกาส/ผู้ปุวยเอดส์
4. ปัญหาฝนแล้งและไม่มีแหล่งกักเก็บน้ำ
5. ปัญหาศิลปวัฒนธรรมประเพณีไทยถูกละเลยจากเยาวชน
35
ขอบเขตและปริมาณของปัญหา พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย
1.เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ของตำบลยางสว่างที่อยู่บ้านเป็นผู้สูงอายุ จึงเป็นเหตุให้จำนวนผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น แต่กลับไม่มีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ สามารถใช้เวลาว่างในการมีชีวิตอยู่นั้นเกิดประโยชน์อย่างสูงสุด
35
2.ในเขตพื้นที่ของในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง ส่วนใหญ่มี อากาศร้อนชื้น เหมาะแก่การเกิดโรคไข้เลือดออก ในแต่ละปี สถิติการเกิดโรคไข้เลือดออกมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น
3. เด็กและเยาวชนในเขตในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง ขาดการปลูกจิตสำนึกในด้านรักบ้านเกิด รักในอาชีพของพ่อแม่ ประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่ อายุระหว่าง 18-35 ปี อยู่นอกพื้นที่ ไปศึกษาเล่าเรียน หรือไปทำงานที่อื่น ทั้งที่พื้นที่ทำการเกษตรมีมากมาย แต่ขาดแรงงานที่สำคัญในการสานต่อ สืบทอดอาชีพที่เรียกกันว่า กระดูกสันหลังของชาติ
4. ปัญหาด้านยาเสพติด เป็นปัญหาที่รัฐบาลได้กำหนดให้เป็น วาระแห่งชาติ แต่ปัญหานี้กลับไม่ลดน้อยลงเลยเพราะกลุ่มเสี่ยงส่วนใหญ่ จะมาจากลูกหลานในชุมชน/หมู่บ้าน การปกปิดปัญหาหรือไม่มีข้อมูลที่เป็นจริง จึงยากแก่การแก้ไข กำหนดมาตรการที่ชัดเจน
5. จากปัญหาในข้อที่ 4 มีเหตุมาจาก ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง
ไม่มีพื้นที่ในการเล่นกีฬาหรือนันทนาการที่ได้มาตรฐาน ขาดอุปกรณ์กีฬาที่กลุ่มเสี่ยงในการติดสารเสพติดต้องการอย่างแท้จริง หรือขาดพื้นที่ในการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ปัญหานี้ต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝุายในการแก้ไข มิฉะนั้น จากปัญหาผู้ติดยาเสพติด ก็จะมีปัญหาอาชญากรรมตามมาอีกด้วย
การคาดการณ์แนวโน้มในอนาคต องค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างจะดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนทั้งทางด้านสาธารณสุข จัดวิทยากรมาอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ และจัดให้มีอาสาสมัครสาธารณสุขเป็นตัวแทนขององค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง คอยดูแลสอดส่องปัญหาสาธารณสุขภายในชุมชนของตนเองและประสานมายังองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง เพื่อให้ความช่วยเหลือ และจัดให้มีโครงการด้านสาธารณสุข ลงไปยังชุมชน/หมู่บ้านต่าง ๆ อย่างทั่วถึง ส่วนในด้านการลดปัญหาต่างๆ ในเด็กและเยาวชน สิ่งสำคัญการปลูกฝังจิตสำนึกที่ดี ทั้งเรื่อง คุณธรรม จริยธรรม สามารถช่วยได้ดีและลงทุนน้อย เช่น การปลูกฝังในเรื่องเกี่ยวกับความสำคัญของหมู่บ้าน/ชุมชน ให้เด็กและเยาวชนเล็งเห็นความสำคัญในถิ่นที่อยู่ บ้านเกิด อาชีพดั้งเดิม ส่วนเรื่องของยาเสพติด หากกลุ่มนี้ได้รับรู้ถึงโทษของยาเสพติด โดยจัดอบรมทั้งทางโลก และทางธรรม ก็สามารถลดปัญหาลงได้ และการส่งเสริมจริยธรรมของเด็กและเยาวชน มีการส่งเสริมโดยการอบรมทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน การจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนเพื่อสร้างความตระหนักและองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง ได้ส่งเสริมกิจกรรมด้านประเพณีและวัฒนธรรม ทั้งที่ดำเนินการเองและจัดงบประมาณอุดหนุน ด้านสถานที่พักผ่อนหย่อนใจและนันทนาการองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง ได้ส่งเสริมกีฬาในชุมชนโดยจัดสร้างสนามกีฬาในชุมชนและสนับสนุนอุปกรณ์กีฬาในการฝึกซ้อมและแข่งขัน หรือมีการส่งตัวแทนให้เป็นนักกีฬาระดับหมู่บ้าน อำเภอ และระดับจังหวัด ก็เป็นทางเลือกที่ดี ส่วนสถานที่หรือสวนสาธารณะขององค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง จัดส่งเสริมการปลูกต้นไม้ในชุมชนและที่สาธารณะต่าง ๆ การเพิ่มพื้นที่สีเขียวในพื้นที่สาธารณะประโยชน์ ลดมลภาวะโลกร้อน ทุกอย่างเป็นสิ่งจำเป็นที่องค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างต้องดำเนินการและคาดการณ์ไว้ในอนาคต
36
ความต้องการของประชาชน
ประชาชนต้องการมีคุณภาพชีวิตที่ดี ได้รับบริการสาธารณสุขอย่างทั่วถึง เด็ก เยาวชนได้รับการปลูกฝังให้อยู่ในจริยธรรมมีความสนใจในประเพณีของท้องถิ่นอันดีงาน มีลูกหลานสานต่ออาชีพเกษตรกรรมอย่างภาคภูมิใจ
และสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ สถานที่เล่นกีฬา ออกกำลังกายและนันทนาการอย่างเพียงพอและใช้พื้นที่สาธารณะประโยชน์หรือพื้นที่ว่างเปล่าให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ง. ด้านการเมือง - การบริหาร
ปัญหาด้านการเมืองและการบริหารนั้นถือว่าเป็นปัญหาสำคัญต่อการบริหารงานในท้องถิ่นโดยเฉพาะปัญหาซื้อเสียง ซึ่งเป็นการทำลายระบบการเลือกตั้งซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาด้านต่างๆตามมามากมายในอนาคตปัญหาด้านการเมืองการบริหารสามารถแยกเป็นข้อๆดังนี้
1.ปัญหาประชาชนขาดความรู้ในด้านการเมือง การบริหาร
2.ปัญหาระบบขั้นตอนในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างมีความเชื่องช้า
3.ประชาชนขาดความตระหนัก ความกระตือรือร้น ในการมีส่วนร่วมทางการเมืองการบริหารอย่างจริงจัง
4.การส่งเสริม พัฒนาและปรับปรุงในส่วนของการจัดเก็บรายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างไม่เพียงพอต่อการบริหารงาน
5.สถานที่ เครื่องมือ เครื่องใช้ ในการปฏิบัติงานไม่เพียงพอและไม่ทันสมัย
จากทั้งหมดที่กล่าวมาถือเป็นปัญหาสำคัญที่มีผลต่อการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนจะต้องพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและมีส่วนร่วมทางการเมืองการบริหารของท้องถิ่นเพื่อกำหนดทิศทางการบริหารงานด้านต่างๆให้เป็นไปตามความต้องการของท้องถิ่น
ขอบเขตและปริมาณของปัญหา พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง บางส่วนขาดความตระหนัก ความกระตือรือร้น ในการที่จะร่วมกิจกรรมทางการเมืองการบริหารงาน เช่น การประชาสังคม การเข้าร่วมประชุม อบรม หรือการให้ความรู้ ในเรื่องต่างๆ สาเหตุมาจากประชาชนในพื้นที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ช่วงระหว่างระยะเวลาในการทำนา คือ 06.00 น. ถึงเวลา 18.00 น. และบางส่วนไม่ได้อยู่ในพื้นที่ ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนบกพร่อง ทำให้ไม่ทราบความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง และการบริหารงานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ส่วนในด้านของการปฏิบัติงาน ปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรในองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างบางส่วนไม่ยึดหลักธรรมาภิบาล ในการปฏิบัติงาน ขาดความกระตือรือร้นในการทำงานและขาดประสิทธิภาพ อาจเนื่องมาจากข้อจำกัดของทรัพยากร ไม่ว่าจะเป็น เงิน คน หรือส่วนอื่น ขาดการส่งเสริมพัฒนาด้านพื้นฐานของการทำงาน ด้านอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ขององค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างมีไม่เพียงพอ เนื่องจากงบประมาณในการจัดหามีจำกัด รายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างมีน้อยซึ่งไม่เพียงพอต่อการดำเนินงานพัฒนาด้านต่าง ๆ รายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างส่วนใหญ่เป็นรายได้ที่ส่วนกลางจัดสรรให้ รายได้จากการจัดเก็บเองมีน้อยเนื่องจากพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง เป็นพื้นที่เกษตรกรรม ไม่มีแหล่งเศรษฐกิจภายในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง
37
การคาดการณ์แนวโน้มในอนาคต องค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง จัดให้มีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และส่งเสริมให้ประชาชนมีความสนใจในการเมืองการบริหารโดยใช้สื่อต่าง ๆ ขององค์การบริหารส่วน
ตำบลยางสว่าง จัดอบรมแกนนำในชุมชน/หมู่บ้าน และส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมืองการบริหารโดยการจัดตั้งกลุ่มตัวแทนของชุมชน/หมู่บ้าน ในด้าน
ต่าง ๆ ส่วนในเรื่องบุคลากรขององค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง จัดให้มีการส่งเสริมพัฒนาระบบการทำงาน โดยการส่งอบรมอย่างต่อเนื่องเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและมีทัศนคติที่ดีในการทำงาน สร้างแรงจูงใจให้กับผู้ปฏิบัติงาน ทำให้มีขวัญและกำลังใจในการทำงาน และให้ทุกคนยึดถือ ปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลอย่างแท้จริง ส่วนด้านการพัฒนาการจัดเก็บรายได้ จัดให้มีการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการชำระภาษี การต่อใบอนุญาตต่างๆ และการปฏิบัติตามข้อบัญญัติ การปรับปรุงด้านแผนที่ภาษีให้สามารถจัดเก็บได้อย่างทั่งถึงยุติธรรมและครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด เร่งรัดการจัดเก็บให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา อีกทั้งออกข้อบัญญัติเพื่อปรับปรุงอัตราการจัดเก็บให้ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบันและเพียงพอต่อการดำเนินการ
ความต้องการของประชาชน
1.สร้างความตระหนัก ให้ประชาชนเล็งเห็นความสำคัญ ของการมีส่วนร่วมในด้านการเมือง การบริหารขององค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างและสนใจที่จะมีส่วนร่วมกิจกรรมทางองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างจัดขึ้น
2.ผู้บริหาร บุคลากร ขององค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง ได้รับการพัฒนาสามารถปฏิบัติงาน อย่างมีประสิทธิภาพ มีการบริการที่ดี สะดวก รวดเร็ว
3.องค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง สามารถจัดเก็บรายได้อย่างทั่วถึง และครบถ้วน เป็นธรรม เพื่อมีรายได้ให้เพียงพอต่อการบริหารงานและดำเนินโครงการ/กิจกรรมด้านต่างๆ มีการส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่มสร้างอาชีพหรือลงทุนในโครงการ/กิจกรรม เพื่อก่อให้เกิดการสร้างงานและกระจายรายได้ อย่างยั่งยืน
จ. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติโดยภาพรวมภายในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล
ยางสว่างถือว่าไม่แตกต่างจากสภาพทั่วไปไม่ว่าจะเป็นสภาพภูมิอากาศสภาพพื้นที่แหล่งน้ำถือว่ามีความใกล้เคียงกันมากด้านสิ่งแวดล้อมโดยรวมภายในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างถือเป็นปัญหาสำคัญเช่นปัญหาการจัดเก็บขยะปัญหาการขาดแคลนสวนสาธารณะเพื่อพักผ่อนเพื่อเป็นสถานที่ออกกำลังกายและเพื่อเป็นปอดชุมชนซึ่งปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมภายในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างถือว่าไม่รุนแรงมากนักเพราะสภาพความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไปและการขยายตัวของชุมชนไม่มากทำให้ปัญหาด้านต่างๆไม่รุนแรงปริมาณขยะในแต่ละวันก็ไม่มากนักเป็นปัญหาขยะของครัวเรือนดังนั้นปัญหาที่น่าจะเร่งด่วนก็น่าจะเป็นการปรับปรุงสวนสุขภาพเท่าที่มีอยู่ให้เป็นสถานที่พักผ่อนและเป็นปอดอย่างแท้จริงภายในชุมชนสำคัญๆของเขตองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างในอนาคตขอบเขตและปริมาณของปัญหา พื้นที่เปูาหมาย กลุ่มเปูาหมาย เนื่องจากประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง มีพื้นที่เป็นแหล่งเกษตรกรรม การปลูก การดูแลผลผลิตทางการเกษตร ส่วนใหญ่ประชาชนยังพึ่งสารเคมีในการเพิ่มผลผลิตหรือทำลายศัตรูพืช จนทำให้ระบบ
38
นิเวศน์ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ถูกทำลาย ประชาชนยังไม่เล็งเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์ ปูองกันและดูแลเรื่องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การคาดการณ์แนวโน้มในอนาคต องค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง จัดหาพื้นที่สาธารณะประโยชน์ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง เพื่อสร้างพื้นที่สีเขียว ลดปัญหาภาวะโลกร้อน และใช้พื้นที่ว่างเปล่าให้เกิดประโยชน์สูงสุด พร้อมส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ปุ๋ยชีวภาพ ลดปัญหาสารเคมีตกค้างในพืชผลทางการเกษตร และการปศุสัตว์ จัดโครงการ/กิจกรรม ให้ความรู้ ความเข้าใจ และสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ ปูองกันและดูแลเรื่องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และทำให้ประชาชนหวงแหน
ความต้องการของประชาชน
ประชาชนต้องการ มีความรู้ในการดูแล อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างถูกต้อง และมีเครื่องมือเครื่องใช้และบุคลากรในการจัดการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเพียงพอ สร้างจิตสำนึกและมีความตระหนักในการอนุรักษ์ ปูองกัน ดูแล รักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ผลการวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของประชาชนในท้องถนตามประเด็นการพัฒนาท้องถิ่น
ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมศักยภาพ (SWOT) ขององค์การบริหารส่วนตาบลยางสว่าง
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis)
จุดแข็ง
การผลิตภาคเกษตร อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว สนามบินนานาชาติ ศูนย์บริการทางการแพทย์ วัฒนธรรมประเพณี การคมนาคมขนส่ง
โอกาส
มีการลงทุนเพิ่มขึ้น การค้าเสรี ติดต่อประเทศเพื่อนบ้านหลายประเทศทำให้เป็นศูนย์กลางด้านเศรษฐกิจ
จุดอ่อน
ภาษา เสถียรภาพทางการเมือง การทุจริตคอร์รัปชั่น นโยบายรัฐ การศึกษา
อุปสรรค
ปัญหาสังคมจะรุ่นแรง แรงงานข้ามชาติ กลไกตลาด ค่าแรงงานต่ำลง ค่าครองชีพสูงขึ้น
39
การวิเคราะห์ (SWOT ) ศักยภาพเพื่อนาไปสู่การพัฒนาองค์การบริหารส่วนตาบล
ปัจจุบันประเทศไทยกำลังก้าวสู่สังคมอาเซียน ทำให้ประเทศต้องมีการพัฒนา และการพัฒนาในระดับประเทศต้องเริ่มจากการพัฒนาระดับหมู่บ้าน ระดับตำบล อำเภอ จังหวัด เข้าสู่การพัฒนาในระดับประเทศต่อไป หากต้องการพัฒนาต้องมีการวิเคราะห์ถึงศักยภาพขององค์กร เพื่อกำหนดทิศทางในการพัฒนาที่ถูกต้องและเหมาะสม หลักการ SWOT Analysis เป็นการวิเคราะห์ถึงโอกาสและภาวะคุกคามหรือข้อจำกัด(จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค) อันเป็นสภาวะแวดล้อมภายนอก ที่มีผลต่อการพัฒนาด้านต่างๆ ของท้องถิ่น ซึ่งทั้งหมดเป็นการประเมินสถานภาพของท้องถิ่นในปัจจุบัน โดยเป็นการตอบคำถามว่า ปัจจุบันท้องถิ่นมีสถานภาพการพัฒนาอยู่จุดไหน สำหรับใช้ประโยชน์ในการกำหนดแนวทางการดำเนินงานต่อไป
SWOT เป็นตัวย่อที่มีความหมายดังนี้
Strengths - จุดแข็งหรือข้อได้เปรียบ
Weaknesses - จุดอ่อนหรือข้อเสียเปรียบ
Opportunities -โอกาสที่จะดำเนินการได้ Threats - อุปสรรค ข้อจำกัดหรือปัจจัยที่คุกคามการดำเนินงานขององค์การ
ประโยชน์ของการวิเคราะห์ SWOT
วิเคราะห์ SWOT เป็นการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมต่าง ๆทั้งภายนอกและภายในตำบลซึ่งปัจจัยเหล่านี้แต่ละอย่างจะช่วยให้เข้าใจได้ว่ามีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานของท้องถิ่นอย่างไรจุดแข็งของท้องถิ่นจะเป็นความสามารถภายในที่ถูกใช้ประโยชน์เพื่อการบรรลุเปูาหมายในขณะที่จุดอ่อนของท้องถิ่นจะเป็นคุณลักษณะภายในที่อาจจะทำลายผลการดำเนินงานโอกาสทางสภาพแวดล้อมจะเป็นสถานการณ์ที่ให้โอกาสเพื่อการบรรลุเปูาหมาย ในทางกลับกันอุปสรรคทางสภาพแวดล้อมจะเป็นสถานการณ์ที่ขัดขวางการบรรลุเปูาหมายผลจากการวิเคราะห์ SWOT นี้จะใช้เป็นแนวทางในการกำหนดวิสัยทัศน์ การกำหนดกลยุทธ์เพื่อให้องค์การบริหารส่วนตำบลพัฒนาท้องถิ่นไปในทิศทางที่เหมาะสม
40
ผลการวิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนาในปัจจุบันและโอกาสการพัฒนาในอนาคตขององค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างด้วยเทคนิค SWOT แยกเป็นดังนี้
จุดแข็ง (Strength : S) เป็นการพิจารณาปัจจัยภายในหน่วยงานที่มีส่วนดี ความเข้มแข็ง ความสามารถ ศักยภาพ ส่วนที่ส่งเสริมความสำเร็จซึ่งจะพิจารณาในด้านต่างๆ เช่น การบริหาร ระบบข้อมูล กำลังคน กำลังเงิน ภาพลักษณ์ ภูมิปัญญาชาวบ้านและทรัพยากร เป็นต้น ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง มีจุดแข็ง ดังนี้
1. มีพื้นที่ในการรับผิดชอบ 25.52 ตารางกิโลเมตร 11 หมู่บ้าน สามารถดูแลได้อย่างทั่วถึง
2. มีการจัดโครงสร้างภายในหน่วยงานที่เหมาะสมสอดคล้องกับภารกิจ
3. บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่และได้รับการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง
4. มีการจัดเก็บข้อมูลในการดำเนินงานและบริหารจัดการโดยยึดหลักโปร่งใส ตรวจสอบได้
5. มีศูนย์กลางของหมู่บ้าน
6. ชุมชนมีความพร้อมทางด้านทรัพยากรบุคคลที่เป็นผู้มีความสามารถ
7. มีสถานศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบที่เปิดโอกาสให้ประชาชนได้รับความรู้
8. การเดินทางคมนาคมเป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็วเนื่องจากห่างจากตัวจังหวัด 85 กม.
9. มีสถานพยาบาลที่คอยให้บริการกับประชาชนในพื้นที่
10. องค์การบริหารส่วนตำบลมีศักยภาพในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน
11. ชุมชนได้รับบริการสาธารณะด้านโครงสร้างพื้นฐาน
12. บุคลากรมีความพร้อมในการให้บริการประชาชนด้วยความเต็มใจ
13. มีการประสานงานหรือร่วมมือกับส่วนราชการอื่นๆ
จุดอ่อน ( w = Weakness)
1. กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มีการปรับปรุงแก้ไขตลอดเวลาทำให้ศึกษาไม่ทันและขาดความชัดเจนในการดำเนินงาน
2. ปริมาณงานมาก บุคลากรมีน้อย มีผลทำให้การปฏิบัติงานไม่เกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลเท่าที่ควร
3.ปัญหาการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ยังไม่เห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานด้านต่างๆขององค์การบริหารส่วนตำบล และในชุมชนของตนเอง
4.อาคารสถานที่ วัสดุ ครุภัณฑ์ ยังไม่เพียงพอกับการดำเนินงานและการบริการประชาชน
5. การบริการสาธารณะด้านโครงสร้างพื้นฐานและด้านสังคม ยังกระจายไม่ทั่วถึง
41
6.ประชาชนขาดจิตสำนึกในการมีส่วนร่วมการสืบสานประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
7. ประชาชนขาดจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
8. เด็กและเยาวชนบางส่วนมีพฤติกรรมเสี่ยงและไม่สนใจการเข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น
9. ผู้ปกครองขาดความเชื่อมั่นสถานศึกษาในพื้นที่ และนำลูกหลานไปศึกษาในเมือง
10. ขาดการวางผังเมืองที่ดี เพื่อรองรับการพัฒนาในอนาคต
11. ขาดเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการดำเนินงานและการบริการประชาชน
12. กลุ่มอาชีพไม่มีความเข้มแข็งเท่าที่ควร ยังไม่สามารถแข่งขันในตลาดได้อย่างสมบูรณ์
ปัจจัยภายนอก
โอกาส ( O = Opportunity)
1.รัฐบาล จังหวัด ผู้บริหารท้องถิ่น ได้ให้ความสำคัญในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจระดับรากหญ้า โดยมีการให้ความสำคัญหลายโครงการ เช่น กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) การส่งเสริมอาชีพที่ก่อให้เกิดรายได้ เป็นต้น
2. การขยายเส้นทางคมนาคมเพื่อเชื่อมกับพื้นที่ข้างเคียง ทำให้การติดต่อสะดวกขึ้นสามารถรองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจและการลงทุน
3. มีทุนทางสังคม มีภูมิปัญญาท้องถิ่นที่หลากหลาย
4. มีพื้นที่และมีศักยภาพในการทำเกษตรกรรม
5.องค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง ได้ดำเนินการตามนโยบายจังหวัด ในระบบสารสนเทศมาใช้ตามโครงการอินเตอร์เน็ตตำบล เพื่อศึกษาหาความรู้ในการติดต่อสื่อสารข้อมูลต่างๆได้จากอินเตอร์เน็ต
อุปสรรค (T = Threat)
1. นโยบายรัฐบาลหรือจังหวัดบางอย่าง ไม่สอดรับหรือตรงกับปัญหาหรือความต้องการ
ของประชาชนในท้องถิ่น
42
2. องค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างมีข้อจำกัดด้านงบประมาณในการพัฒนาและไม่สามารถ พัฒนาได้อย่างสมบูรณ์ ครอบคลุมพื้นที่ได้อย่างทั่วถึง
3. ปัญหาความยากจนของประชาชน
4. ปัญหาน้ำมันราคาแพง และสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน
5. กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
6. การจัดสรรงบประมาณ/ระยะเวลาการอนุมัติงบประมาณจากส่วนกลางไม่สอดคล้องกับระยะเวลาดำเนินงาน
7.ประชาชนมีฐานความรู้ ความคิดทัศนคติที่แตกต่างกัน และไม่ให้ความร่วมมือในการพัฒนา
8.ภารกิจถ่ายโอนเพิ่มมากขึ้น บุคากรมีน้อย ขาดความชำนาญในการปฏิบัติงาน
จากการวิเคราะห์ศักยภาพในการพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง โดยใช้หลักการ SWOT พบว่า องค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง มีจุดแข็งที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาศักยภาพของตำบล คือ มีพื้นที่รับผิดชอบ 25.52 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุม 11 หมู่บ้าน ประชากรมีการอยู่รวมกันเป็นหมู่บ้านๆแต่ละหมู่บ้านอยู่ใกล้เคียงกัน ทำให้สามารถพัฒนาได้ง่าย หมู่บ้านมีศูนย์กลางของหมู่บ้าน เป็นศูนย์รวมของการทำกิจกรรม ก่อให้เกิดความร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจ ในการทำกิจกรรมต่างๆ โดยในแต่ละชุมชนประกอบด้วยทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ความสามารถองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างมีการจัดโครงสร้างภายในหน่วยงานที่เหมาะสม สอดคล้องกับภารกิจทำให้การปฏิบัติหน้าที่มีความชัดเจนมีผู้รับผิดชอบโดยตรง สามารถสั่งการได้ง่าย บุคลากรมีความรู้ความสามารถ และพร้อมที่จะบริการประชาชนด้วยความเต็มใจ มีการจัดเก็บข้อมูลในการดำเนินงานและบริหารจัดการโดยยึดหลักโปร่งใส ตรวจสอบได้ โดยยึดหลักหลักธรรมาภิบาล
องค์การบริหารส่วนตำบลมีศักยภาพในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนและมีการประสานงานหรือร่วมมือกับส่วนราชการอื่นอย่างต่อเนื่องด้านสถานศึกษา โดยมีโรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 4 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 4 แห่ง นอกจากนี้ยังมีสถานพยาบาล ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยางสว่าง จำนวน 1 แห่ง เพื่อให้บริการในเรื่องของสุขภาพ และองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่างมีที่ตั้งมีเส้นทางคมนาคมที่สะดวกและห่างจากจังหวัดสุรินทร์ ประมาณ 91 กิโลเมตร
43
โอกาส
ทางสภาพแวดล้อมเป็นสถานการณ์ที่ให้โอกาสเพื่อบรรลุเปูาหมายในการพัฒนาได้ ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง มีโอกาสในการพัฒนา คือ รัฐบาล จังหวัด ผู้บริหารท้องถิ่น ให้ความสำคัญในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจระดับรากหญ้า โดยมีการให้ความสำคัญหลายโครงการ เช่น กองทุนหมู่บ้านและชุมชน หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ และการส่งเสริมอาชีพที่ก่อให้เกิดรายได้ และเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มอาชีพต่างๆ ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ และมีการติดต่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ทั้งเครือข่ายในพื้นที่และต่างพื้นที่ โดยในพื้นที่ของตำบลยางสว่างถือว่าเป็นพื้นที่ที่มีทุนทางสังคมเนื่องจากมีอุตสาหกรรมในครัวเรือนเช่นการทำถุงมือหนังที่หลากหลาย และเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการทำการเกษตร มีการปลูกข้าว ปีละ 2 ครั้ง และมีโอกาสเพิ่มมากขึ้นจาการขยายเส้นทางในการคมนาคมเพื่อเชื่อมกับพื้นที่ข้างเคียงทำให้การติดต่อสะดวกขึ้น สามารถรองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจและผลิตผลทางเกษตกร นอกจากนี้องค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง ยังได้ดำเนินการตามนโยบายของจังหวัด ในระบบสารสนเทศมาใช้ ตามโครงการอินเตอร์เน็ตตำบล เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนได้ศึกษาหาความรู้และค้นหาข้อมูลต่างๆได้จากอินเตอร์เน็ต เพื่อเตรียมพร้อมเข้าสู่โลกไร้พรมแดน
จุดอ่อน
เป็นปัจจัยภายในที่มีผลต่อการพัฒนาแต่องค์กรสามารถแก้ไขได้ด้วยตนเองซึ่งจุดอ่อนขององค์การบริหารส่วนตำบลยางสว่าง ได้แก่ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มีการปรับปรุงแก้ไขตลอดเวลาทำให้
ศึกษาไม่ทันและขาดความชัดเจนในการดำเนินงานปริมาณงานมาก(โครงการ) บุคลากรมีน้อย (ช่างคุมงาน) มีผลทำให้การปฏิบัติงานไม่เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลเท่าที่ควร อาคารสถานที่ วัสดุ ครุภัณฑ์ ยังไม่เพียงพอกับการดำเนินงานและการบริการประชาชนปัญหาการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ยังไม่เห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานด้านต่างๆขององค์การบริหารส่วนตำบลและในชุมชนของตนเอง ขาดการวางผังเมืองที่ดีเพื่อรองรับการพัฒนาในอนาคตขาดเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการดำเนินงานและการบริการประชาชนการบริการสาธารณะด้านโครงสร้างพื้นฐานและด้านสังคม ยังกระจายไม่ทั่วถึง ประชาชนขาดจิตสำนึกในการมีส่วนร่วมการสืบสานประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นประชาชนขาดจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กลุ่มอาชีพไม่มีความเข้มแข็งเท่าที่ควร ยังไม่สามารถแข่งขันในตลาดได้อย่างสมบูรณ์เด็กและเยาวชนบางส่วนมีพฤติกรรมเสี่ยงและไม่สนใจการเข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นและผู้ปกครองขาดความเชื่อมั่นสถานศึกษาในพื้นที่และนำลูกหลานไปศึกษาในเมืองซึ่งปัญหาที่กล่าวมาทั้งหมดนี้อาจทำลายผลการดำเนินงานหรือเป็นตัวขัดขวางแต่สามารถแก้ไขได้ด้วยองค์กรเอง
44
อุปสรรคทางสภาพแวดล้อม
เป็นสถานการณ์ที่ขัดขวางการบรรลุเปูาหมายเป็นปัจจัยภายนอก องค์กรไม่สามารถแก้ไขด้วยตนเองได้ อุปสรรคในการพัฒนาของตำบลยางสว่าง ได้แก่ นโยบายรัฐบาลหรือจังหวัดบางอย่างไม่สอดรับหรือตรงกับปัญหาหรือความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นมีข้อจำกัดด้านงบประมาณในการพัฒนาและไม่สามารถพัฒนาได้อย่างสมบูรณ์ ครอบคลุมพื้นที่ได้อย่างทั่วถึง ปัญหาความยากจนของประชาชนปัญหาน้ำมันราคาแพง และสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาการจัดสรรงบประมาณระยะเวลาการอนุมัติงบประมาณจากส่วนกลางไม่สอดคล้องกับระยะเวลาดำเนินงานประชาชนมีฐานความรู้ ความคิด ทัศนคติที่แตกต่างกัน และไม่ให้ความร่วมมือในการพัฒนา ภารกิจถ่ายโอนเพิ่มมากขึ้น บุคากรมีน้อย ขาดความชำนาญในการปฏิบัติงานปัญหาเหล่านี้จึงเป็นอุปสรรคในการพัฒนาของตำบลยางสว่าง ที่จะต้องให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องได้ร่วมกันพิจารณาและแก้ไขต่อไป
45
1.ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแผนงาน
ที่
ยุทธศาสตร์
ด้าน
แผนงาน
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
หน่วยงานที่สนับสนุน
1
การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
การเศรษฐกิจ การค้าการลงทุน
แผนงานเคหะและชุมชน
กองช่าง
อบจ
และหน่วยงานอื่น
2
การพัฒนาด้านเศรษฐกิจชุมชน
การพัฒนาสังคมเพื่อยกกระดับคุณภาพชีวิต
แผนงานสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
สำนักงานปลัด
3
การพัฒนาด้านสังคมและคุณภาพชีวิต
การพัฒนาสังคมเพื่อยกกระดับคุณภาพชีวิต
แผนงานการศาสนาวัฒนธรรมและนันทนาการ
กองการศึกษา
4
การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติละสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
แผนงานการศาสนาวัฒนธรรมและนันทนาการ
สำนักงานปลัด
5
ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการเมือง
การพัฒนาสังคมเพื่อยกกระดับคุณภาพชีวิต
แผนงานบริหารงานทั่วไป
แผนงานสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
สำนักงานปลัด
6
ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการกระจายอานาจฯ
การพัฒนาสังคมเพื่อยกกระดับคุณภาพชีวิต
แผนงานการศึกษา
แผนงานสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
สำนักงานปลัด
46
รายละเอียดโครงการพัฒนา
แผนพัฒนาสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564)
องค์การบริหารส่วนตาบลยางสว่าง อาเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้า ขุดลอกแหล่งน้า
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
1
โครงการก่อสร้างถนน คสล. หมู่ที่ 9 บ้านหนองตาด
เพื่อให้ราษฎรได้ใช้สัญจรไปมาได้สะดวกภายในหมู่บ้าน
50.15800 ม.
1,600,000
(อบต.)
1,600,000
(อบต.)
1,600,000
(อบต.)
1,600,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฏรได้รับความสะดวกในการสัญจรไปมาภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้าน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
2
โครงการก่อสร้างถนน คสล. หมู่ที่ 3 บ้านแก่นท้าว
เพื่อให้ราษฎรได้ใช้สัญจรไปมาได้สะดวกภายในหมู่บ้าน
40.151,000 ม.
2,000,000 (อบต.)
2,000,000 (อบต.)
2,000,000 (อบต.)
2,000,000 (อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฏรได้รับความสะดวกในการสัญจรไปมาภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้าน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
3
โครงการก่อสร้างถนน คสล.ภายใหมู่บ้าน หมู่ที่ 5
บ้านน้อยพัฒนา
เพื่อให้ราษฎรได้ใช้สัญจรไปมาได้สะดวกภายในหมู่บ้าน
50.15500 ม.
1,000,000
(อบต.)
1,000,000
(อบต.)
1,000,000
(อบต.)
1,000,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฏรได้รับความสะดวกในการสัญจรไปมาภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้าน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
4
โครงการก่อสร้างถนน คสล. หมู่ที่ 7 บ้านขะยูง
เพื่อให้ราษฎรได้ใช้สัญจรไปมาได้สะดวดภายในหมู่บ้าน
40.15500 ม.
1000,000
(อบต.)
1000,000
(อบต.)
1000,000
(อบต.)
1000,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฏรได้รับความสะดวกในการสัญจรไปมาภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้าน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
47
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ที่ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้า ขุดลอกแหล่งน้า
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
5
โครงการก่อสร้างถนน คสล. หมู่ที่11 บ้านหนองบัวศรีสว่าง
เพื่อให้ราษฎรได้สัญจรไปมาได้สะดวกและปลอดภัย
40.15300 ม.
600,000
(อบต.)
600,000
(อบต.)
600,000
(อบต.)
600,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฎรได้รับความสะดวกสบายในการสัญจรภายในหมู่บ้าน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
6
โครงการก่อสร้างถนน คสล. ภายใน หมู่ที่ 8 บ้านโนนสังข์
เพื่อให้ราษฎรได้ใช้สัญจรไปมาได้สะดวกภายในหมู่บ้าน
40.15500 ม.
1,000,000
(อบต.)
1,000,000
(อบต.)
1,000,000
(อบต.)
1,000,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฏรได้รับความสะดวกในการสัญจรไปมาภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้าน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
7
โครงการก่อสร้างถนน คสล. ภายในหมู่บ้านและถนน คสล. แยกทุ่งพอก-แยกบ้านนางสุนี หมู่ที่ 4 บ้านกล้วย
เพื่อให้ราษฎรได้ใช้สัญจรไปมาได้สะดวกภายในหมู่บ้าน
40.15300 ม.
600,000
(อบต.
600,000
(อบต.
600,000
(อบต.
600,000
(อบต.
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฏรได้รับความสะดวกในการสัญจรไปมาภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้าน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
8
โครงการก่อสร้างถนน คสล. ภายในหมู่บ้านและถนน คสล.บ้านยาง หมู่ที่1 และ ม.6
เพื่อให้ราษฎรได้ใช้สัญจรไปมาได้สะดวกภายในหมู่บ้าน
40.15800 ม.
1,600,000 (อบต.)
1,600,000 (อบต.)
1,600,000 (อบต.)
1,600,000 (อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฏรได้รับความสะดวกในการสัญจรไปมาภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้าน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
9
โครงการก่อสร้างถนน คสล. หมู่ที่ 2
บ้านนางเข็ม
เพื่อให้ราษฎรได้ใช้สัญจรไปมาได้สะดวกภายในหมู่บ้าน
40.15400 ม.
1,600,000 (อบต.)
1,600,000 (อบต.)
1,600,000 (อบต.)
1,600,000 (อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฏรได้รับความสะดวกในการสัญจรไปมาภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้าน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
48
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ที่ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้า ขุดลอกแหล่งน้า
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
10
โครงการก่อสร้างถนน คสล.บ้านหัวแฮด-อบต.ยางสว่าง หมู่ที่ 10
บ้านศาลา
เพื่อให้ราษฎรได้ใช้สัญจรไปมาได้สะดวดภายในหมู่บ้าน
40.15500 ม.
1000,000
(อบต.)
1000,000
(อบต.)
1000,000
(อบต.)
1000,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฏรได้รับความสะดวกในการสัญจรไปมาภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้าน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
11
โครงการก่อสร้างถนน คสล.ภายใน ตำบลยางสว่าง
เพื่อให้ราษฎรได้ใช้สัญจรไปมาได้สะดวกภายในหมู่บ้าน
40.151,000 ม.
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฏรได้รับความสะดวกในการสัญจรไปมาภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้าน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
12
โครงการเสริมสร้างถนนลงหินคลุกแยกดงขวาง-ยางเดี่ยว หมู่ที่ 9 บ้านหนองตาด
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนในหมู่บ้านที่ชำรุดและสิ้นอายุการใช้งาน
40.102,000 ม.
420,000
(อบต.)
420,000
(อบต.)
420,000
(อบต.)
420,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับปรุงซ่อมแซมให้ดีขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
13
โครงการเสริมสร้างถนนลงหินคลุกแยกสมสะอาด-บ้านยายทุมมี หมู่ที่ 5
บ้านน้อยพัฒนา
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนในหมู่บ้านที่ชำรุดและสิ้นอายุการใช้งาน
40.10700 ม.
147,000
(อบต.)
147,000
(อบต.)
147,000
(อบต.)
147,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับปรุงซ่อมแซมให้ดีขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
14
โครงการเสริมสร้างถนนลงหินคลุกในหมู่บ้าน
บ้านยาง หมู่ที่ 1
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนที่ใช้สัญจรในหมู่บ้าน
30.10500 ม.
105,000
(อบต.
105,000
(อบต.
105,000
(อบต.
105,000
(อบต.
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับปรุงซ่อมแซมให้ดี
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
49
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ที่ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้า ขุดลอกแหล่งน้า
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
15
โครงการเสริมสร้างถนนลงหินคลุก หมู่ที่ 2
บ้านนางเข็ม
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนที่ใช้สัญจรในหมู่บ้าน
40. 101,000 ม.
1000,000
(อบต.)
1000,000
(อบต.)
1000,000
(อบต.)
1000,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับปรุงซ่อมแซมให้ดีขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
16
โครงการเสริมสร้างถนนลงหินคลุก หมู่ที่ 3
บ้านแก่นท้าว-ดงดั่ง
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนที่ใช้สัญจรในหมู่บ้าน
40. 101,000 ม.
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับปรุงซ่อมแซมให้ดีขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
17
โครงการเสริมสร้างถนนลงหินคลุก หมู่ที่ 4
บ้านกล้วย
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนที่ใช้สัญจรในหมู่บ้าน
40. 10700 ม.
420,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับปรุงซ่อมแซมให้ดี
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
18
โครงการเสริมสร้างถนนลงหินคลุก
หมู่ที่ 6 บ้านยางเตี้ย
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนที่ใช้สัญจรในหมู่บ้าน
40. 10500 ม.
147,000
(อบต.)
147,000
(อบต.)
147,000
(อบต.)
147,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับปรุงซ่อมแซมให้ดี
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
19
โครงการเสริมสร้างถนนลงหินคลุก
หมู่ที่ 7 บ้านขะยูง
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนที่ใช้สัญจรในหมู่บ้าน
40. 10600 ม.
105,000
(อบต.)
105,000
(อบต.)
105,000
(อบต.)
105,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับปรุงซ่อมแซมให้ดี
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
50
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ที่ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้า ขุดลอกแหล่งน้า
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
20
โครงการเสริมสร้างถนนลงหินคลุก หมู่ที่ 8
โนนสังข์
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนที่ใช้สัญจรในหมู่บ้าน
40. 10500 ม.
105,000
(อบต.)
105,000
(อบต.)
105,000
(อบต.)
105,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับปรุง
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
21
โครงการเสริมสร้างถนนลงหินคลุกแยกหนองยาง-ศาลา หมู่ที่ 10 บ้านศาลา
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนที่ใช้สัญจรในหมู่บ้าน
40. 10500 ม.
105,000
(อบต.)
105,000
(อบต.)
105,000
(อบต.)
105,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับปรุง
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
22
โครงการเสริมสร้างถนนลงหินคลุก หมู่ที่ 11
บ้านหนองบัวศรีสว่าง
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนที่ใช้สัญจรในหมู่บ้าน
40. 10500 ม.
105,000
(อบต.)
105,000
(อบต.)
105,000
(อบต.)
105,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับปรุง
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
23
โครงการเสริมสร้างถนนลงหินลูกรัง หมู่ที่ 11
บ้านหนองบัวศรีสว่าง
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนในหมู่บ้านที่ชำรุดและสิ้นอายุการใช้งาน
40. 102,000 ม.
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับปรุง
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
24
โครงการเสริมสร้างถนนลงหินลูกรัง หมู่ที่ 8
บ้านโนนสังข์
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนในการเกษตร
40. 101,000 ม.
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับ
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
51
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ที่ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้า ขุดลอกแหล่งน้า
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
25
โครงการเสริมสร้างถนนลงหินลูกรัง หมู่ที่ 1 บ้านยาง
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนในหมู่บ้านยาง
40. 10500 ม.
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับ
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
26
โครงการเสริมสร้างถนนลงหินลูกรัง หมู่ที่ 4 บ้านกล้วย
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนในหมู่บ้านที่ชำรุดและสิ้นอายุการใช้งาน
40. 101,000 ม.
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับปรุง
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
27
โครงการเสริมสร้างถนนลงหินลูกรัง หมู่ที่ หมู่ที่ 2 บ้านนางเข็ม
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนในหมู่บ้านที่ชำรุด
และสิ้นอายุการใช้งาน
40. 101,000 ม.
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับปรุงซ่อมแซมให้ดีขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
28
โครงการเสริมสร้างถนนลงหินลูกรัง หมู่ที่ 7 บ้านขะยูง
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนในหมู่บ้านที่ชำรุด
40. 101,200 ม.
120,000
(อบต.)
120,000
(อบต.)
120,000
(อบต.)
120,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับปรุง
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
29
โครงการเสริมสร้างถนนลงหินลูกรัง หมู่ที่ 6 บ้านยางเตี้ย
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนในหมู่บ้านที่ชำรุดและสิ้นอายุการใช้งาน
40. 101,000 ม.
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับปรุงซ่อมแซมให้ดีขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
52
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ที่ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้า ขุดลอกแหล่งน้า
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
30
โครงการเสริมสร้างถนนลงหินลูกรัง หมู่ที่ 5
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนในหมู่บ้านที่ชำรุดและสิ้นอายุการใช้งาน
40. 10800 ม.
80,000
(อบต.)
80,000
(อบต.)
80,000
(อบต.)
80,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับปรุงซ่อมแซมให้ดีขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
31
โครงการเสริมสร้างถนนลงหินลูกรัง หมู่ที่ 9
บ้านหนองตาด
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนในหมู่บ้านที่ชำรุดและสิ้นอายุการใช้งาน
40. 101,500ม.
150,000
(อบต.)
150,000
(อบต.)
150,000
(อบต.)
150,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับปรุงซ่อมแซมให้ดีขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
32
โครงการเสริมสร้างถนนลงหินลูกรัง หมู่ที่ 10
บ้านศาลา
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนในหมู่บ้านที่ชำรุดและสิ้นอายุการใช้งาน
40. 10500 ม.
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับปรุงซ่อมแซมให้ดีขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
33
โครงการก่อสร้างถนนดินยกระดับ หมู่ที่ 2
บ้านนางเข็ม
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนในหมู่บ้านที่ชำรุดและสิ้นอายุการใช้งาน
40.502,000 ม.
180,000
(อบต.)
180,000
(อบต.)
180,000
(อบต.)
180,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ประชาชนสามารถสัญจรไป-มาได้สะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
34
โครงการก่อสร้างถนนดินยกระดับ
หมู่ที่ 7 บ้านขะยูง
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนในหมู่บ้านที่ชำรุดและสิ้นอายุการใช้งาน
40.501,000 ม.
90,000
(อบต.)
90,000
(อบต.)
90,000
(อบต.)
90,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ประชาชนสามารถสัญจรไป-มาได้สะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
35
โครงการก่อสร้างถนนดินยกระดับ หมู่ที่ 3
บ้านแก่นท้าว-ดงดั่ง ม.5
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนในหมู่บ้านที่ชำรุดและสิ้นอายุการใช้งาน
41.00500 ม.
วางท่อระบายน้ำ
45,000
(อบต.)
45,000
(อบต.)
45,000
(อบต.)
45,000
(อบต.)
ร้อยละขอความยาวถนน
ประชาชนสามารถสัญจรไป-มาได้สะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
53
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ที่ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้า ขุดลอกแหล่งน้า
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
36
โครงการก่อสร้างถนนดินยกระดับพร้อมท่อเหลี่ยม
หมู่ที่ 8 บ้านโนนสังข์
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนในหมู่บ้านที่ชำรุดและสิ้นอายุการใช้งาน
41.00700 ม.
63,000
(อบต.)
63,000
(อบต.)
63,000
(อบต.)
63,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ประชาชนสามารถสัญจรไป-มาได้สะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
37
โครงการก่อสร้างถนนดินยกระดับ หมู่ที่10 บ้านศาลา
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนในหมู่บ้านที่ชำรุดและสิ้นอายุการใช้งาน
40.501,200 ม.
108,000
(อบต.)
108,000
(อบต.)
108,000
(อบต.)
108,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ถนนที่ชำรุดและมีอายุการใช้งานมานานได้รับการปรับปรุงซ่อมแซมให้ดีขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
38
โครงการก่อสร้างถนนดินยกระดับ หมู่ที่ 1 บ้านยาง
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนที่ใช้ในการเกษตร
40.501,000 ม.
วางท่อระบายน้ำ
45,000
(อบต.)
45,000
(อบต.)
45,000
(อบต.)
45,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ประชาชนสามารถสัญจรไป-มาได้สะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
39
โครงการก่อสร้างถนนดินยกระดับข้ามห้วยพอกและเลียบคลอง หมู่ที่ 11 บ้านหนองบัวศรีสว่าง ม.8
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนในหมู่บ้านที่ชำรุดและสิ้นอายุการใช้งาน
40.501,000 ม.
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ประชาชนสามารถสัญจรไป-มาได้สะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
40
โครงการก่อสร้างถนนดินยกระดับ หมู่ที่ 6 บ้านยางเตี้ย
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนในหมู่บ้านที่ชำรุดและสิ้นอายุการใช้งาน
50.50 1,500 ม.
135,000
(อบต.)
135,000
(อบต.)
135,000
(อบต.)
135,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ประชาชนสามารถสัญจรไป-มาได้สะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
41
โครงการก่อสร้างถนนดินยกระดับ สามแยก-ปุาช้า หมู่ที่ 4 บ้านกล้วย
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนในหมู่บ้านที่ชำรุดและสิ้นอายุการใช้งาน
40.501,000 ม.
พร้อมวางท่อระบายน้ำ
90,000
(อบต.)
90,000
(อบต.)
90,000
(อบต.)
90,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ประชาชนสามารถสัญจรไป-มาได้สะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
54
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ที่ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้า ขุดลอกแหล่งน้า
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
42
โครงการก่อสร้างถนนดินยกระดับ หมู่ที่ 9 บ้านหนองตาด
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมถนนในหมู่บ้านที่ชำรุดและสิ้นอายุการใช้งาน
40.501,000 ม.
90,000
(อบต.)
90,000
(อบต.)
90,000
(อบต.)
90,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ประชาชนสามารถสัญจรไป-มาได้สะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
43
โครงการก่อสร้างถนนลาดยางแบบ อบต.กำหนดจากบ้านขะยูง-หนองอียอ
เพื่อให้ราษฎรได้สัญจรไปมาได้สะดวกและปลอดภัย
8.002,000 ม.
5,000,000
(อบจ./อบต.)
5,000,000
(อบจ./อบต.)
5,000,000
(อบจ./อบต.)
5,000,000
(อบจ./อบต.)
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฎรภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้านได้รับความสะดวกในกาเดินทาง
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
44
โครงการก่อสร้างถนนลาดยางแบบ อบต.กำหนดจาก ม.3 - ม.4 - ม.11 ม.2 , ม.8 , ม.10
เพื่อให้ราษฎรได้สัญจรไปมาได้สะดวกและปลอดภัย
8.008,000 ม.
16,000,000
(อบจ.)
16,000,000
(อบจ.)
16,000,000
(อบจ.)
16,000,000
(อบจ.)
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฎรภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้านได้รับความสะดวกในการเดินทาง
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
45
โครงการก่อสร้างถนนลาดยางแบบ อบต.กำหนดจาก ม.3 - ม.4 - ม.11 ม.2 , ม.8 หน้า รร. ม.1
เพื่อให้ราษฎรได้สัญจรไปมาได้สะดวกและปลอดภัย
8.008,000 ม.
16,000,000
(อบจ.)
16,000,000
(อบจ.)
16,000,000
(อบจ.)
16,000,000
(อบจ.)
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฎรภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้านได้รับความสะดวกในการเดินทาง
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
46
โครงการก่อสร้างถนนราดยางตามแบบมาตรฐานจาก ม.5 - บ้านยางเตี้ย ม.6 ตำบลเบิด
เพื่อให้ราษฎรได้สัญจรไปมาได้สะดวก
8.003,000 ม.
10,000,000
(อบจ.)
10,000,000
(อบจ.)
10,000,000
(อบจ.)-
10,000,000
(อบจ.)
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฎรภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้านได้รับความสะดวกในการเดินทาง
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
55
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ที่ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้า ขุดลอกแหล่งน้า
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
47
โครงการก่อสร้างถนนราดยางตามแบบมาตรฐานจาก จากแยกลาดยางสายศรีสะเกษ-บ้านแก่นท้าว-ดงดั่ง
เพื่อให้ราษฎรได้สัญจรไปมาได้สะดวก
8.003,000 ม.
10,000,000
(อบจ.)
10,000,000
(อบจ.)
10,000,000
(อบจ.)
10,000,000
(อบจ.)
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฎรภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้านได้รับความสะดวกในการเดินทาง
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
48
โครงการก่อสร้างถนนลาดยางในเขตตำบลยางสว่างตามแบบ อบต.กำหนด
เพื่อให้ราษฎรได้สัญจรไปมาได้สะดวก
5.005,000 ม.
12,000,000
(อบจ.)
12,000,000
(อบจ.)
12,000,000
(อบจ.)
12,000,000
(อบจ.)
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฎรภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้านได้รับความสะดวกในการเดินทาง
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
49
โครงการก่อสร้างรางระบายน้ำ คสล. บ้านยางเตี้ย หมู่ที่ 6
เพื่อระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้าน
0.300.40500 ม.
550 ,000
(อบต.)
550 ,000
(อบต.)
550 ,000
(อบต.)
550 ,000
(อบต.)
ร้อยละขอความยาวรางระบายน้ำ
การระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้านเป็นไปด้วยความสะดวก
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
50
โครงการก่อสร้างรางระบายน้ำ คสล.บ้านนางเข็ม หมู่ที่ 2
เพื่อระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้าน
0.300.402,500
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
ร้อยละขอความยาวรางระบายน้ำ
การระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้านเป็นไปด้วยความสะดวก
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
56
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ที่ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้า ขุดลอกแหล่งน้า
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
51
โครงการก่อสร้างรางระบายน้ำ คสล. บ้านกล้วย หมู่ที่ 4 หมู่ที่ 8
เพื่อระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้าน
0.300.40500 ม.
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวรางระบายน้ำ
การระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้านเป็นไปด้วยความสะดวก
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
52
โครงการก่อสร้างรางระบายน้ำ คสล. บ้านน้อยพัฒนา หมู่ที่ 5
เพื่อระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้าน
0.300.40500 ม.
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวรางระบายน้ำ
การระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้านเป็นไปด้วยความสะดวก
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
53
โครงการก่อสร้างรางระบายน้ำ คสล. บ้านหนองตาด หมู่ที่ 9
เพื่อระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้าน
0.300.40500 ม.
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวรางระบายน้ำ
การระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้านเป็นไปด้วยความสะดวก
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
54
โครงการก่อสร้างรางระบายน้ำ คสล.บ้านแก่นท้าว-ดงดั่ง หมู่ที่ 3
เพื่อระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้าน
0.300.40500 ม.
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวรางระบายน้ำ
การระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้านเป็นไปด้วยความสะดวก
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
57
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ที่ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้า ขุดลอกแหล่งน้า
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
55
โครงการก่อสร้างรางระบายน้ำ คสล.บ้านยาง หมู่ที่ 1
เพื่อระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้าน
0.300.40500 ม.
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวรางระบายน้ำ
การระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้านเป็นไปด้วยความสะดวก
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
56
โครงการก่อสร้างรางระบายน้ำ คสล.บ้านขะยูง หมู่ที่ 7
เพื่อระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้าน
0.300.40500 ม.
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวรางระบายน้ำ
การระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้านเป็นไปด้วยความสะดวก
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
57
โครงการก่อสร้างรางระบายน้ำ คสล.บ้านหนองตาด หมู่ที่ 9
เพื่อระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้าน
0.300.40500 ม.
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวรางระบายน้ำ
การระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้านเป็นไปด้วยความสะดวก
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
58
โครงการก่อสร้างรางระบายน้ำ คสล. บ้านศาลา หมู่ที่ 10
เพื่อระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้าน
0.300.40500 ม.
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวรางระบายน้ำ
การระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้านเป็นไปด้วยความสะดวก
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
58
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ที่ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้า ขุดลอกแหล่งน้า
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
59
โครงการก่อสร้างรางระบายน้ำ คสล. บ้านหนองบัวศรีสว่าง หมู่ที่ 11
เพื่อระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้าน
0.300.40500 ม.
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวรางระบายน้ำ
การระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้านเป็นไปด้วยความสะดวก
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
60
ซ่อมแซมคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตร บ้านแก่นท้าว-ดงดั่ง หมู่ที่ 3
เพื่อก่อสร้างและปรับปรุงคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตรช่วยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้แก่เกษตรกรในหมู่บ้าน
1 แห่ง
4,000,000
(อบต.)
4,000,000
(อบต.)
4,000,000
(อบต.)
4,000,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวรางระบายน้ำ
การระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้านเป็นไปด้วยความสะดวก
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
61
โครงการก่อสร้างและขุดลอกคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตร
บ้านศาลา หมู่ที่ 10
เพื่อก่อสร้างและปรับปรุงคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตรช่วยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้แก่เกษตรกรในหมู่บ้าน
1 แห่ง
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาวรางระบายน้ำ
การระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้านเป็นไปด้วยความสะดวก
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
59
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ที่ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้า ขุดลอกแหล่งน้า
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
62
โครงการก่อสร้างและขุดลอกคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตร บ้านกล้วย หมู่ที่ 4
เพื่อก่อสร้างและปรับปรุงคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตรช่วยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้แก่เกษตรกรในหมู่บ้าน
1 แห่ง
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
มีคลองส่งเพื่อทำการเกษตรทำให้เกษตรกรสามารถทำการเกษตรได้ตลอดทั้งปีเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
63
โครงการก่อสร้างและขุดลอกคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตร บ้านนางเข็ม หมู่ที่ 2
เพื่อก่อสร้างและปรับปรุงคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตรช่วยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้แก่เกษตรกรในหมู่บ้าน
1 แห่ง
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
มีคลองส่งเพื่อทำการเกษตรทำให้เกษตรกรสามารถทำการเกษตรได้ตลอดทั้งปีเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
64
โครงการก่อสร้างและขุดลอกคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตร บ้านยางเตี้ย หมู่ที่ 6
เพื่อก่อสร้างและปรับปรุงคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตรช่วยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้แก่เกษตรกรในหมู่บ้าน
1 แห่ง
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
มีคลองส่งเพื่อทำการเกษตรทำให้เกษตรกรสามารถทำการเกษตรได้ตลอดทั้งปีเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
65
โครงการก่อสร้างและขุดลอกคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตร บ้านน้อยพัฒนา หมู่ที่ 5
เพื่อก่อสร้างและปรับปรุงคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตรช่วยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้แก่เกษตรกรในหมู่บ้าน
1 แห่ง
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
มีคลองส่งเพื่อทำการเกษตรทำให้เกษตรกรสามารถทำการเกษตรได้ตลอดทั้งปีเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
60
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ที่ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้า ขุดลอกแหล่งน้า
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
66
โครงการก่อสร้างและขุดลอกคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตร บ้านโนนสังข์ หมู่ที่ 8
เพื่อก่อสร้างและปรับปรุงคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตรช่วยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้แก่เกษตรกรในหมู่บ้าน
1 แห่ง
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
มีคลองส่งเพื่อทำการเกษตรทำให้เกษตรกรสามารถทำการเกษตรได้ตลอดทั้งปีเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
67
โครงการขุดลอกหนองกระทุ่ม บ้านแก่นท้าว-ดงดั่ง หมู่ที่3
เพิ่อการเกษตรช่วยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้แก่ชาวบ้าน
1 แห่ง
4,000,000
(อบต.)
4,000,000
(อบต.)
4,000,000
(อบต.)
4,000,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
เพื่อทำการเกษตรทำให้เกษตรกรสามารถทำการเกษตรได้ตลอดทั้งปีเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
68
โครงการก่อสร้างและขุดลอกคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตร บ้านนางเข็ม หมู่ที่ 2
เพื่อก่อสร้างและปรับปรุงคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตรช่วยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้แก่เกษตรกร
1 แห่ง
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
มีคลองส่งเพื่อทำการเกษตรทำให้เกษตรกรสามารถทำการเกษตรได้ตลอดทั้งปี
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
61
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ที่ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้า ขุดลอกแหล่งน้า
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
69
โครงการก่อสร้างและขุดลอกคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตร บ้านขะยูง หมู่ที่ 7- หนองไผ่
เพื่อก่อสร้างและปรับปรุงคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตรช่วยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้แก่เกษตรกรใน หมู่บ้าน
1 แห่ง
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
มีคลองส่งเพื่อทำการเกษตรทำให้เกษตรกรสามารถทำการเกษตรได้ตลอดทั้งปีเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
70
โครงการก่อสร้างและขุดลอกคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตรบ้านหนองตาด หมู่ที่ 9
เพื่อก่อสร้างและปรับปรุงคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตรช่วยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้แก่เกษตรกร
1 แห่ง
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
มีคลองส่งเพื่อทำการเกษตรทำให้เกษตรกรสามารถทำการเกษตรได้ตลอดทั้งปี
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
71
โครงการขุดลอกคลองหนองบัวศรีสว่าง ม.11
เพื่อรองรับการระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้าน
1 แห่ง
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
2,000,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ราษฎรมีแหล่งน้ำเพื่การเกษตรและเป็นแหล่งเพาะพันธ์ปลา
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
72
โครงการก่อสร้างรางระบายน้ำ คสล. และคลองดิน บ้านยาง หมู่ที่ 1
เพื่อระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้าน
0.300.40500 ม.
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
550,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
การระบายน้ำจากบ้านเรือนราษฎรภายในหมู่บ้านเป็นไปด้วยความสะดวก
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
73
โครงการขุดลอกห้วยพอก บ้านนางเข็ม - ฝายกั้นน้ำพร้อมประตูระบายน้ำ 3 ช่อง
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำ
1 แห่ง
1,500,000
(อบต.)
1,500,000
(อบต.)
1,500,000
(อบต.)
1,500,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ราษฎรมีแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรและเป็นแหล่งเพาะพันธ์ปลา
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
62
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ที่ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้า ขุดลอกแหล่งน้า
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
74
โครงการขุดลอกหนองหัวแฮด หมู่ที่ 5
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำ
1 แห่ง
250,000
(อบต.)
250,000
(อบต.)
250,000
(อบต.)
250,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
เพิ่มผลผลิตทางการประมงให้มีปริมาตรมากขึ้นและมีแหล่งน้ำทำการเกษตร
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
75
โครงการขุดลอกหนองยางและก่อสร้างท่อเหลี่ยม
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำ
1 แห่ง
7,000,000
(อบต.)
7,000,000
(อบต.)
7,000,000
(อบต.)
7,000,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
เพิ่มผลผลิตทางการประมงให้มีปริมาตรมากขึ้นและมีแหน่งน้ำทำการเกษตร
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
76
โครงการขุดลอกหนองบัวนอก/หนองบัวใน/หนองนางกวย
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำ
3 แห่ง
3,000,000
(อบต.)
3,000,000
(อบต.)
3,000,000
(อบต.)
3,000,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
เพิ่มผลผลิตทางการประมงให้มีปริมาตรมากขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
77
โครงการขุดลอกหนองอียอ/หนองไผ่
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำ
1 แห่ง
500,000
(อบต.)
500,000
(อบต.)
500,000
(อบต.)
500,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
เพิ่มผลผลิตทางการประมงให้มีปริมาตรมากขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
78
โครงการขุดลอกคลองส่งน้ำ ม.6 (เพิ่ม)
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำ
1 แห่ง
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
เพิ่มผลผลิตทางการประมงให้มีปริมาตรมากขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
63
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้า ขุดลอกแหล่งน้า
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
79
ซ่อมบำรุงสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟูา สถานีสูบน้ำบ้านกล้วย สถานีสูบน้ำบ้านยาง และบ้านหนองบัวศรีสว่าง
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมอุปกรณ์และสถานีสูบน้ำให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
3 แห่ง
200,000
(อบต)
200,000
(อบต)
200,000
(อบต)
200,000
(อบต)
จำนวนครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอ
สามารถให้บริการแก่ประชาชนที่ใช้บริการสาถนีสูบน้ำด้วยไฟฟูาได้เพิ่มมากขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
80
โครงการขุดสระน้ำเพื่อการเกษตร
เพื่อเพิ่มผลการผลิตทางการเกษตรให้แก่เกษตรกร
ทั้งตำบล
500,000
(อบต)
500,000
(อบต)
500,000
(อบต)
200,000
(อบต)
จำนวนครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอ
เพิ่มผลการผลิตทางการเกษตรให้แก่เกษตรกร
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
81
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมถนนในเขตตำบลยางสว่าง
เพื่อให้ประชาชนสัญจรไป-มาได้อย่างสะดวกปลอดภัย
ทั้งตำบล
200,000
(อบต)
200,000
(อบต)
200,000
(อบต)
200,000
(อบต)
ร้อยละของความยาวถนน
ประชาชนมีถนนสัญจรไป-มาอย่างสะดวกปลอดภัย
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
82
โครงการก่อสร้างสถานี/คลองส่งน้ำด้วยพลังไฟฟูา
เพื่อส่งเสริมให้ราษฎรทำเกษตรนอกฤดูกาล
3 แห่ง
2,200,000
(อบต.)
2,200,000
(อบต.)
2,200,000
(อบต.)
200,000
(อบต)
จำนวนครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอ
เกษตรกรสามารถทำการเกษตรและทำอาชีพอื่นนอกฤดูกาลได้
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
83
โครงการวางท่อส่งน้ำ(พีวีซี)เพื่อการเกษตร
เพื่อให้เกษตรกรมีน้ำทการเกษตรตลอดทั้งปี
11หมู่บ้าน
1,00,000
(อบต.)
1,00,000
(อบต.)
1,00,000
(อบต.)
200,000
(อบต)
จำนวนครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอ
ประชาชนมีน้ำทำการเกษตรตลอดทั้งปีและมีรายได้เพิ่มขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
64
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้า ขุดลอกแหล่งน้า
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
84
โครงการขุดลอกแก้มลิง
หนองฆ่าหมู่ หมู่ที่ 8
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำ
1 แห่ง
200,000
(อบต)
200,000
(อบต)
200,000
(อบต)
200,000
(อบต)
จำนวนครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอ
เพิ่มผลผลิตทางการประมงให้มีปริมาตรมากขึ้นและมีแหล่งน้ำทำการเกษตร
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
85
ขุดลอกหนองค่าเครื่อง
ม.6
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำ
1 แห่ง
500,000
(อบต)
500,000
(อบต)
500,000
(อบต)
500,000
(อบต)
จำนวนครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอ
เพิ่มผลผลิตทางการประมงให้มีปริมาตรมากขึ้นและมีแหล่งน้ำทำการเกษตร
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
86
ขุดลอกแก้มลิงกุดนางเข็มพร้อมอาคารประกอบ
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำ
1 แห่ง
200,000
(อบต)
200,000
(อบต)
200,000
(อบต)
200,000
(อบต)
ร้อยละของความยาว
เพิ่มผลผลิตทางการประมงให้มีปริมาตรมากขึ้นและมีแหล่งน้ำทำการเกษตร
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
87
ขุดลอกแก้มลิงหนองบัวศรีสว่างพร้อมอาคารประกอบ
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำ
1 แห่ง
2,200,000
(อบต.)
2,200,000
(อบต.)
2,200,000
(อบต.)
2,200,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาว
เพิ่มผลผลิตทางการประมงให้มีปริมาตรมากขึ้นและมีแหล่งน้ำทำการเกษตร
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
88
ก่อสร้างแนวปูองกันตลิ่งห้วยทับทัน บ.กล้วย -
บ.โนนสังข์
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำ
1 แห่ง
1,00,000
(อบต.)
1,00,000
(อบต.)
1,00,000
(อบต.)
1,00,000
(อบต.)
ร้อยละของความยาว
เพิ่มผลผลิตทางการประมงให้มีปริมาตรมากขึ้นและมีแหล่งน้ำทำการเกษตร
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
65
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การปรับปรุงระบบไฟฟ้าแรงต่า ขยายเขตไฟฟ้า ติดตั้งโคมไฟฟ้าสาธารณะ
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
1
โครงการติดตั้งและซ่อมแซมโคมไฟฟูาสาธารณะ ภายในตำบลยางสว่าง
เพื่อให้ประชาชนมีความสะดวก และปลอดภัยในการสัญจรไปมาในเวลาค่ำคืน
11 หมู่บ้าน
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
ร้อยละของครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้
ประชาชนในหมู่บ้านได้รับความสะดวก ปลอดภัยในการสัญจรไปมาในเวลาค่ำคืน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
2
โครงขยายเขตและปรับปรุงไฟฟูาสาธารณะแรงต่ำตำบลยางสว่าง
เพื่อขยายเขตการให้บริการด้านไฟฟูาอย่างทั่วถึงทุกครัวเรือน
11 หมู่บ้าน
500,000
(อบต.)
500,000
(อบต.)
500,000
(อบต.)
500,000
(อบต.)
ร้อยละของครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้
ประชาชนได้รับบริการด้านไฟฟูาอย่างทั่วถึงทุกครัวเรือน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
3
โครงการติดตั้งและซ่อมแซมโคมไฟฟูาโซล่าเซลล์ ภายในตำบลยางสว่าง
เพื่อให้ประชาชนมีความสะดวก และปลอดภัยในการสัญจรไปมาในเวลาค่ำคืน
11 หมู่บ้าน
2,500,000
(อบต.)
2,500,000
(อบต.)
2,500,000
(อบต.)
2,500,000
(อบต.)
ร้อยละของครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้
ประชาชนในหมู่บ้านได้รับความสะดวก ปลอดภัยในการสัญจรไปมาในเวลาค่ำคืน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
66
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ขยายเขตและปรับปรุงประปา
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
1
โครงการปรับปรุงประปาและขยายเขตประปา ม.6,ม.5,ม.10, ม.7- ม.9,รพ.ชุมชน ,ม.8 , ม.1 ,ม.3
เพื่อให้ราษฎรมีน้ำอุปโภคบริโภคอย่างทั่วถึง
9 แห่ง
500,000
(อบต.)
500,000
(อบต.)
500,000
(อบต.)
500,000
(อบต.)
จำนวนครัวเรีอนมีน้ำใช้อย่างเพียงพอ
ราษฎรมีน้ำอุปโภคบริโภคอย่างทั่วถึงและเพียงพอภายในหมู่บ้าน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
2
โครงการปรับปรุงปและขยายเขตประปา บ้านกล้วย หมู่ที่ 4
เพื่อให้ราษฎรมีน้ำอุปโภคบริโภคอย่างทั่วถึง
1 แห่ง
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
จำนวนครัวเรีอนมีน้ำใช้อย่างเพียงพอ
ราษฎรมีน้ำอุปโภคบริโภคอย่างทั่วถึงและเพียงพอภายในหมู่บ้าน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
3
โครงการปรับปรุงและขยายประปา หมู่ที่ 2 บ้านนางเข็ม
เพื่อให้ราษฎรมีน้ำอุปโภคบริโภคอย่างทั่วถึง
2 แห่ง
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
จำนวนครัวเรีอนมีน้ำใช้อย่างเพียงพอ
ราษฎรมีน้ำอุปโภคบริโภคอย่างทั่วถึงและเพียงพอภายในหมู่บ้าน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
4
โครงการก่อสร้าง/ประปาผิวดินและประปาบาดาลและซ่อมแซม
เพื่อให้ราษฎรมีน้ำอุปโภค บริโภคอย่างทั่วถึงและพอเพียง
6 แห่ง
1,3,7,8,10และ11
3,000,000
กรมทรัพยากรน้ำฯ
3,000,000
กรมทรัพยากรน้ำฯ
3,000,000
กรมทรัพยากรน้ำฯ
3,000,000
กรมทรัพยากรน้ำฯ
จำนวนครัวเรีอนมีน้ำใช้อย่างเพียงพอ
ราษฎรมีน้ำอุปโภคบริโภคอย่างทั่วถึงและเพียงพอ
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
67
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
1.ยุทธศาสตร์ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ขยายเขตและปรับปรุงประปา
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
5
โครงการปรับปรุงประปา หมู่ที่ 5
บ้านน้อยพัฒนา
เพื่อให้ราษฎรมีน้ำอุปโภคบริโภคอย่างทั่วถึง
1 แห่ง
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
จำนวครัวเรีอนมีน้ำใช้อย่างเพียงพอ
ราษฎรมีน้ำอุปโภคบริโภคอย่างทั่วถึงและเพียงพอภายในหมู่บ้าน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
6
โครงการขุดเจาะ/ปรับปรุงบ่อน้ำบาดาล
เพื่อให้ราษฎรมีน้ำอุปโภคบริโภคอย่างทั่วถึงและเพียงพอภายในหมู่บ้าน
11 หมู่บ้าน
100,000
(อบต.)
500,000
(อบต.)
500,000
(อบต.)
500,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ราษฎรมีน้ำอุปโภคบริโภคอย่างทั่วถึงและเพียงพอภายในหมู่บ้าน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
7
โครงการบำรุงรักษาระบบประปาหมู่บ้าน
เพื่อให้ราษฎรมีน้ำประปาอุปโภคบริโภคอย่างทั่วถึง
11 หมู่บ้าน
100,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ราษฎรมีน้ำสะอาดอุปโภคบริโภคอย่างทั่วถึงตลอดทั้งปี
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
รวม
98 โครงการ
-
-
-
-
-
68
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
2..ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ การส่งเสริมศักยภาพ ขีดความสามารถผลผลิตทางการเกษตร และสร้างตลาดชุมชนเพื่อเพิ่มรายได้
2.1 แผนงาน สร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
1
ส่งเสริมการประกอบอาชีพด้านการเกษตรตามแนวพระราชดำริเศษรฐกิจแบบพอเพียง
เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้และมีอาชีพที่มั่นคงเช่นเลี้ยงไก่พันธุ์พื้นเมือง
11 หมู่บ้าน
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
เกษตรกรมีรายได้และมีอาชีพที่มั่นคง
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
2
โครงการฝึกอบรมและส่งเสริมการประกอบอาชีพให้แก่ประชาชน
เพื่อให้เกษตรกรลดต้นทุนในการผลิต
11 หมู่บ้าน
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
2ครั้ง/ปี
เกษตรกรสามารถลดต้นทุนในการผลิต
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
3
ส่งเสริมสนับสนุนกลุ่มเลี้ยงโคและกระบือตามแนวทางพระราชดำริ
เพื่อให้เกษตรกรมีทักษะในการประกอบอาชีพ
11 หมู่บ้าน
500,000
(อบต.)
500,000
(อบต.)
500,000
(อบต.)
500,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
เกษตรกรได้รับการพัฒนารายได้มากขึ้น
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
4
สนับสนุนกลุ่มออมทรัพย์
เพื่อให้ประชาชนและกลุ่มอาชีพมีทักษะในการร่วมกลุ่มประกอบอาชีพค้าขาย
11 หมู่บ้าน
110,000
(อบต.)
110,000
(อบต.)
110,000
(อบต.)
110,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ประชาชนและกลุ่มอาชีพมีทักษะในการร่วมกลุ่มประกอบอาชีพค้าขาย
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
5
สนับสนุนทุนศูนย์สาธิตตลาดของชุมชน
เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารกิจการด้วยตนเอง
11 หมู่บ้าน
220,000
(อบต.)
220,000
(อบต.)
220,000
(อบต.)
220,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
มีความรู้ความเข้าใจในระบบการบริหารกิจการในชุมชนของตน
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
6
จัดอบรมและสนับสนุนทุนแก่กลุ่มแม่บ้านในเขตตำบลยางสว่าง
เพื่อให้ราษฎรมีทักษะในการประกอบวิชาชีพที่ดีขึ้น
11 หมู่บ้าน
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
เกษตรกรมีรายได้และมีอาชีพที่มั่นคง
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
69
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
2..ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ การส่งเสริมศักยภาพ ขีดความสามารถผลผลิตทางการเกษตร และสร้างตลาดชุมชนเพื่อเพิ่มรายได้
2.1 แผนงาน สร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
7
โครงการส่งเสริม 1 หมู่บ้าน 1 ผลิตภัณฑ์
เพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์ในชุมชนและให้เกืดรายแก่ชุมชน
11 หมู่บ้าน
330,000
(อบต.)
330,000
(อบต.)
330,000
(อบต.)
330,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ประชาชนสามารถจำหน่ายผลิตภัณฑ์สร้างรายได้
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
8
โครงการอบรมอาสาปศุสัตว์ประจำชุมชน
เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ในการทำปศุสัตว์อย่างถูกวิธี
11 หมู่บ้าน
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
เกษตรกรมีความรู้ในการทำปศุสัตว์อย่างถูกวิธี
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
9
โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการทำการเกษตรแบบอินทรีย์
เพื่อให้เกษตรกรลดต้นทุนในการผลิตผลผลิตทางการเกษตร
11 หมู่บ้าน
150,000
(อบต.)
150,000
(อบต.)
150,000
(อบต.)
150,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
เกษตรกรสามารถลดต้นทุนในการผลิต
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
10
ส่งเสริมและสนับสนุนโรงสีชุมชน ระดับตำบล
เพื่อให้มีโรงสีชุมชนลดรายจ่ายของเกษตรกร
1 แห่ง
1,000,000
(อบต.)
1,000,000
(อบต.)
1,000,000
(อบต.)
1,000,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
มีโรงสีชุมชนสามารลดรายจ่ายให้เกษตรกร
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
11
ส่งเสริมและสนับสนุนการปลูกสมุนไพรชมรมหมอพื้นบ้านตำบลยางสว่าง
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพร
2 แห่ง
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้จากสมุนไพร
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
12
โครงการก่อสร้างศูนย์สาธิตการตลาดในชุมชนตำบลยางสว่าง
เพื่อให้ประชาชนและกลุ่มอาชีพมีทักษะในการร่วมกลุ่มประกอบอาชีพค้าขาย
11 หมู่บ้าน
1,100,000
(อบต.)
1,100,000
(อบต.)
1,100,000
(อบต.)
1,100,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ประชาชนและกลุ่มอาชีพมีทักษะในการร่วมกลุ่มประกอบอาชีพค้าขาย
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
70
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
2..ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ การส่งเสริมศักยภาพ ขีดความสามารถผลผลิตทางการเกษตร และสร้างตลาดชุมชนเพื่อเพิ่มรายได้
2.1 แผนงาน สร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่ผ่านมา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
13
โครงการส่งเสริมการทำนาปี/นาปรังแก่เกษตรกรตำบลยางสว่าง
เพื่อให้เกษตรกรสามารถทำนาได้เพิ่มมากขึ้นและมีรายได้เพียงพอ
11 หมู่บ้าน
ในเขตตำบลยางสว่าง
330,000
(อบต.)
330,000
(อบต.)
330,000
(อบต.)
330,000
(อบต.)
2ครั้ง/ปี
เกษตรกรผลิตข้าวได้เพิ่มมากขึ้นและมีรายได้เพิ่มขึ้น
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
14
โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการทำปศุสัตว์ของเกษตรกรในเขตตำบลยางสว่าง
เพื่อสนับสนุนสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสุรินทร์ใช้สำหรับพัฒนาศักยภาพขององค์กร
11 หมู่บ้าน
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสุรินทร์สามารถดูแลเกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
15
ส่งเสริมและสนับสนุนตลาดชุมชน/ตลาดโคกระบือ
เพื่อให้ประชาชนและกลุ่มอาชีพมีทักษะในการค้าขาย
1 แห่ง
500,000
(อบต.)
500,000
(อบต.)
500,000
(อบต.)
500,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ประชาชนและกลุ่มอาชีพมีทักษะในการค้าขาย
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
16
ส่งเสริมและสนับสนุนการแปรรูปสินค้าทางการเกษตร
เพื่อให้ประชาชนและกลุ่มอาชีพมีทักษะในการจัดทำสินค้าแปรรูป
11 บ้าน
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ประชาชนและกลุ่มอาชีพมีทักษะการจัดทำสินค้าแปรรูป
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
17
โครงการส่งเสริมการทำการเกษตรเพื่อเพิ่มผลผลิต
เพื่อสร้าอาชีพและสร้างรายได้ให้แก้เกษตรกร
11 หมู่บ้าน
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
เพิ่มประสิทธิภาพในการทำการเกษตรให้แก่เกษตรกร
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
รวม
17 โครงการ
-
-
-
-
-
71
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
3..ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิต ด้านคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น
3.1 แผนงานการศาสนาวัฒนธรรมและนันทนาการ
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
1
โครงการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคนในชุมชน
เพื่อเยาวชน/ประชาชนมีจิตสำนึกด้านจริยธรรมและคุณธรรมเพิ่มขึ้น
3 รุ่น
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
เยาวชน/ประชาชนมีจิตสำนึกด้านจริยธรรมและคุณธรรมร้อยละ 80
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
2
ส่งเสริมและอนุรักษ์ประเพณีสงกรานต์
เพื่ออนุรักษ์ประเพณีไทยวันสงกรานต์ วันผู้สูงอายุและวันครอบครัว
11 หมู่บ้าน
130,000
(อบต.)
130,000
(อบต.)
130,000
(อบต.)
130,000
(อบต.)
ประชาชนได้เข้าร่วมกิจกรรมวันวันสงกรานต์
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
3
ส่งเสริมและอนุรักษ์ประเพณีบุญบั้งไฟ
เพื่ออนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่น
11 หมู่บ้าน
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมในประเพณีบุญบั้งไฟในท้องถิ่นของตนเอง
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
4
ส่งเสริมและอนุรักษ์ประเพณีบุญผะเหวด (พระเวส)
เพื่ออนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่นและให้ประชาชนได้ทำบุญร่วมกัน
11 หมู่บ้าน
60,000
(อบต.)
60,000
(อบต.)
60,000
(อบต.)
60,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ประชาชนได้เข้าร่วมกิจกรรมบุญผะเหวด
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
5
ส่งเสริมและอนุรักษ์ประเพณีเข้าพรรษา-ออกพรรษา(ทำบุญเวียนรอบ)
เพื่อประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมวันสำคัญทางศาสนา
11 หมู่บ้าน
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ประชาชนได้เข้าร่วมกิจกรรมวันสำคัญทางศาสนา
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
72
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
3..ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิต ด้านคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น
3.1 แผนงานการศาสนาวัฒนธรรมและนันทนาการ
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
6
ส่งเสริมและอนุรักษ์ศิลปะพื้นบ้านกลองยาว
เพื่อส่งเสริมและอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น
11 หมู่บ้าน
80,000
(อบต.)
80,000
(อบต.)
80,000
(อบต.)
80,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ส่งเสริมและอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
7
ส่งเสริมและอนุรักษ์ประเพณีลอยกระทง
เพื่ออนุรักษ์ประเพณีไทยวันลอยกระทงให้สืบไป
11 หมู่บ้าน
150,000
(อบต.)
150,000
(อบต.)
150,000
(อบต.)
150,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมวันลอยกระทง
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
8
สนับสนุนประเพณีทำบุญตักบาตรเทโวโรหนะออกพรรษา
เพื่อส่งเสริมและอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่น
11 หมู่บ้าน
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
มีประชนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่น และได้เข้าร่วมกิจกรรม
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
9
โครงการบรรพชาอุปสมบทพระภิกษุสามเณรและบวชศีลจาริณีภาคฤดูร้อน
เพื่อปลูกฝังให้เยาวชนและประชาชนรู้จักคุณธรรม จริยธรรม และได้ร่วมกันทำบุญได้ร่วมทำบุญ
11 หมู่บ้าน
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต
1ครั้ง/ปี
เยาวชนและประชาชนมีคุณธรรมและมีความเอื้อเฟื้อเมตตาต่อกันมากขึ้น
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
10
โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่นวัฒธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นในเขตพื้นที่หรือดำเนินการร่วมกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดงานประเพณีท้องถิ่น
ตามความเหมาะสม
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ประเพณีท้องถิ่นได้รับการส่งเสริมให้อยู่คู่กับประชาชนในท้องถิ่น
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
73
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
3.ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิต ส่งเสริมการศึกษา
3.1 แผนงานการศาสนาวัฒนธรรมและนันทนาการ
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
11
โครงการสร้างสนามเด็กเล่นแก่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียนในเขตตำบลยางสว่าง
เพื่อให้เด็กนักเรียนมีสนามเด็กเล่นอย่างเพียงพอ
7 แห่ง
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.
1ครั้ง/ปี
เด็กนักเรียนมีสนามเด็กเล่นมีคุณภาพและปลอดภัย
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
12
โครงการสนับสนุนอุปกรณ์การเรียนการศึกษาและอุปกรณ์กีฬาแก่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียนในเขตตำบลยางสว่าง
เพื่อให้เด็กนักเรียนมีสื่ออุปกรณ์เพื่อใช้ประกอบในการเรียนการสอน
7 แห่ง
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการเรียนรู้มากขึ้น
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
13
โครงการสนับสนุนการแข่งขันกีฬานักเรียนโรงเรียนในเขตตำบลยางสว่าง
กีฬา 2 ตำบล
เพื่อให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพดีและทักษะการเล่นกีฬาเพิ่มขึ้น
7 แห่ง
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
เด็กนักเรียนมีการเล่นกีฬามากขึ้น
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
14
โครงการสนับสนุนส่งเสริมสุขภาพนักเรียนในเขตตำบลยางสว่าง
เพื่อให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพอนามัยแข็งแรง
ปีละ 1 ครั้ง
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
เด็กนักเรียนมีสุขภาพอนามัยแข็งแรง
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
74
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
3.ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิต ส่งเสริมการศึกษา
3.1 แผนงานการศาสนาวัฒนธรรมและนันทนาการ
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
15
โครงการส่งเสริมพัฒนาเด็กและผู้ดูแลเด็กเล็กให้เกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
เพื่อเสริมทักษะกระบวนการสอนและการเรียนรู้
ปีละ 1 ครั้ง
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
เด็กและผู้ดูแลเด็กมีทักษะกระบวนการมากขึ้น
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
16
โครงการส่งเสริมการพัฒนากิจกรรมด้านอาชีพให้นักเรียน
เพื่อให้ครูและนักเรียนได้เรียนรู้เพิ่มทักษะในการประกอบอาชีพ
ปีละ 1 ครั้ง
120,000
(อบต.)
120,000
(อบต.)
120,000
(อบต.)
120,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ครูและนักเรียนได้เรียนรู้เพิ่มทักษะในการประกอบอาชีพยิ่งขึ้น
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
17
โครงการส่งเสริมการศึกษาต่อแก่ผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา
เพื่อให้ผู้ขาดโอกาสทางการศึกษามีโอกาสได้ศึกษา
ปีละ 1 ทุน
60,000
(อบต.)
60,000
(อบต.)
60,000
(อบต.)
60,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษาในเขตตำบลยางสว่างได้รับการศึกษามากขึ้น
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
18
โครงการส่งเสริมการเรียนรู้นอกห้องเรียนแก่นักเรียนในเขตตำบลยางสว่าง
เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนในเขตตำบลยางสว่างได้ศึกษาหาความรู้นอกห้องเรียน
ปีละ 1 ครั้ง
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
นักเรียนในเขตตำบลยางสว่างได้รับความรู้นอกห้องเรียนทำให้มีความรู้เพิ่มมากขึ้น
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
75
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
3.ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิต ส่งเสริมการศึกษา
3.1 แผนงานการศาสนาวัฒนธรรมและนันทนาการ
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
19
โครงการส่งเสริมการเรียนรู้นอกห้องเรียนแก่นักเรียนในเขตตำบลยางสว่าง/ภาษาต่างประเทศ
เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนในเขตตำบลยางสว่างได้ศึกษาหาความรู้นอกห้องเรียน
ปีละ 1 ครั้ง
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
นักเรียนในเขตตำบลยางสว่างได้รับความรู้นอกห้องเรียนทำให้มีความรู้เพิ่มมากขึ้น
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
20
โครงการส่งเสริมการศึกษาในการจัดหาครูสอนเพื่อแก้ไขปัญหาครูมีจำนวนไม่เพียงพอให้แก่โรงเรียนในเขตตำบลยางสว่าง
เพื่อแก้ไขปัญหาครูมีจำนวนไม่เพียงพอให้แก่โรงเรียนในเขตตำบลยางสว่าง
โรงเรียนในเขตตำบลยางสว่าง จำนวน 3 แห่ง
210,000
(อบต.)
210,000
(อบต.)
210,000
(อบต.)
210,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
โรงเรียนในเขตตำบลยางสว่างมีครูเพียงพอสำหรับสอนนักเรียน
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
21
โครงการอบรมคุณธรรมจริยธรรมแก่เด็กนักเรียนในเขตตำบลยางสว่างและเข้าค่ายลูกเสือ
เพื่ออบรมคุณธรรมจริยธรรมแก่เด็กนักเรียนในเขตตำบลยางสว่าง
ปีละ 1 ครั้ง
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
นักเรียนในเขตตำบลยางสว่างมีคุณธรรมจริยธรรมทุกคน
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
รวม
21 โครงการ
-
-
-
-
-
76
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
3.ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิต ส่งเสริมสุขภาพและอนามัย
3.2 แผนงานสาธารณสุข
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
1
โครงการควบคุมและปูองกันโรคไข้เลือดออก
เพื่อลดอัตราปุวยด้วยโรคไข้เลือดออกจนไม่เป็นปัญหาสาธารณสุข
ปีละ 2 ครั้ง
120,000
(อบต.)
120,000
(อบต.)
120,000
(อบต.)
120,000
(อบต.)
2ครั้ง/ปี
ประชาชนไม่ปุวยโรคไข้เลือดออก
อบต.ยางสว่าง
2
โครงการอาหารสะอาดปลอดภัยประชาชนตำบลยางสว่างปลอดจากโรคมะเร็ง
เพื่อให้ประชาชนตำบลยางสว่างปลอดจากโรคมะเร็ง
ปีละ 1 ครั้ง
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ประชาชนในเขตตำบลยางสว่างปลอดจากโรคมะเร็ง
อบต.ยางสว่าง
3
โครงการความรู้สู่ผู้นำคนพิการตำบลยางสว่าง
เพื่อพัฒนาคุณภาพและศักยภาพให้ผู้พิการในเขตตำบลยางสว่าง
ปีละ 1 ครั้ง
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ผู้พิการในเขตตำบลยางสว่างสามารถช่วยตัวเองได้มากขึ้น
อบต.ยางสว่าง
4
โครงการส่งเสริมและพัฒนารูปแบบการดูแลผู้พิการแบบครบวงจร
เพื่อให้ผู้พิการตำบลยางสว่างได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง
ปีละ 1 ครั้ง
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ผู้พิการตำบลยางสว่างได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง
อบต.ยางสว่าง
5
โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในเขตตำบลยางสว่าง
เพื่อให้ประชาชนมีอาชีพมีรายได้และมีทักษะแพทย์แผนไทย
ปีละ 1 ครั้ง
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ประชาชนมีรายได้เพิ่มมีทักษะแพทย์แผนไทย
อบต.ยางสว่าง
6
โครงการส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี
ชีวีสดใส
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการปูองกันโรคหัวใจและหลอดเลือด
ปีละ 1 ครั้ง
40,000
(อบต.)
40,000
(อบต.)
40,000
(อบต.)
40,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ประชาชนมีความรู้ในการปูองโรคหัวใจและระบบหลอดเลือดรวมทั้งโรคต่างๆ
อบต.ยางสว่าง
77
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
3.ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิต ส่งเสริมสุขภาพและอนามัย
3.2 แผนงานสาธารณสุข
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
7
โครงการส่งเสริมการสร้างสุขภาพและการออกกำลังกายภายในชุมชน
เพื่อส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง
ปีละ 1 ครั้ง
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
1
ครั้ง/ปี
สุขภาพของประชาชนแข็งแรง
อบต.ยางสว่าง
8
โครงการรณรงค์ควบคุมปูองกันโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อในเขตตำบลยางสว่าง
เพื่อควบคุมปูองกันโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อในเขตตำบลยางสว่าง
ปีละ 1 ครั้ง
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
1
ครั้ง/ปี
ประชาชนในเขตตำบลยางสว่างปราศจากโรคภัย
อบต.ยางสว่าง
9
โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กให้มีคุณภาพที่ดีสมบูรณ์แข็งแรง
เพื่อส่งเสริมแม่และเด็กให้สุขภาพแข็งแรง
ปีละ 1 ครั้ง
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
1
ครั้ง/ปี
แม่และเด็กในเขตตำบลยางสว่างมีสุขภาพแข็งแรง
อบต.ยางสว่าง
10
โครงการพัฒนาระบบและกลไกเพื่อเด็กตำบลยางสว่างมีภาวะโภชนาการสมวัย
เพื่อส่งเสริมในเด็กในตำบลยางสว่างมีภาวะโภชนาการสมวัย
ปีละ 1 ครั้ง
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
เด็กในเขตตำบลยางสว่างมีสุขภาพแข็งแรงสมวัย
อบต.ยางสว่าง
11
โครงการตำบลยางสว่างสดใสห่วงใยผู้สูงอายุ
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้ดีขึ้น
ปีละ 1 ครั้ง
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
1
ครั้ง/ปี
สุงอายุในเขตตำบลยางสว่างมีสุขภาพแข็งแรงขึ้น
อบต.ยางสว่าง
12
โครงการสนับสนุนกองทุนประกันสุขภาพ
เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนสุขภาพที่แข็งแรงให้แก่ประชาชนตำบลยางสว่าง
ปีละ 1 ครั้ง
70,000
(อบต.)
70,000
(อบต.)
70,000
(อบต.)
70,000
(อบต.)
1
ครั้ง/ปี
ประชาชนตำบลยางสว่างมีสุขภาพแข็งแรง
อบต.ยางสว่าง
78
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
3.ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิต ส่งเสริมสุขภาพและอนามัย
3.2 แผนงานสาธารณสุข
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
13
โครงการส่งเสริมกองทุนคุณธรรมเพื่อสวัสดิการ(ออมวันละ 1 บาท)
เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนออมของประชาชนตำบลยางสว่าง
ปีละ 1 ครั้ง
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
มีกองทุนคุรธรรมเพื่อสวัสดิการ(ออมวันละ 1 บาท)ให้แก่ประชาชน
อบต.ยางสว่าง
14
โครงการ มหกรรม ยางสว่าง
สร้างสุขภาพ
เพื่อส่งเสริมสุขภาพประชาชนในเขต
ปีละ 1 ครั้ง
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ประชาชนตำบลยางสว่างมีสุขภาแข็งแรง
อบต.ยางสว่าง
15
โครงการอาชีวอนามัยในผู้ประกอบการถุงมือหนัง
เพื่อส่งเสริมและพัฒนางานอาชีวอนามัย
ปีละ 1 ครั้ง
40,000
(อบต.)
40,000
(อบต.)
40,000
(อบต.)
40,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ประชาชนมีความรู้ด้านชีวอนามัยมากขึ้น
อบต.ยางสว่าง
16
โครงการให้ความรู้ความปลอดภัยทางยาแก่ประชาชนในตำบล
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการใช้ยา
ปีละ 1 ครั้ง
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
30,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ประชาชนมีความรู้เรื่องยา
อบต.ยางสว่าง
17
โครงการเฝูาระวังและปูองกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
เพื่อเฝูาระวังและปูองกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตในประชาชน
ปีละ 1 ครั้ง
40,000
(อบต.)
40,000
(อบต.)
40,000
(อบต.)
40,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ให้ประชาชนเฝูาระวังปูองกันโรคเบาหวานความดัน
อบต.ยางสว่าง
18
โครงการเกษตรกรปลอดโรคผู้บริโภคปลอดภัยลดอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
เพื่อลดอัตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
ปีละ 1 ครั้ง
40,000
(อบต.)
40,000
(อบต.)
40,000
(อบต.)
40,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ให้ประชากรมีความรู้ในการใช้สารเคมีต่างๆ
อบต.ยางสว่าง
79
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
3.ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิต ส่งเสริมสุขภาพและอนามัย
3.2 แผนงานสาธารณสุข
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
19
โครงการรณรงค์ เฝูาระวัง บำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดและสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง
เพื่อเป็นการเฝูาระวังไม่ให้เยาวชนในชุมชนไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
ปีละ 1 ครั้ง
20,000
(อบต.)
20,000
(อบต.)
20,000
(อบต.)
20,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
เด็ก เยาวชนในชุมชนไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
20
สนับสนุนศูนย์บำบัดผู้เสพยาเสพติด และรณรงค์ปูองปราบยาเสพติด
เพื่อเป็นการเฝูาระวังเยาวชนไม่ให้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
ปีละ 1 ครั้ง
40,000
(อบต.)
40,000
(อบต.)
40,000
(อบต.)
40,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
เด็กและเยาวชนไม่ติดสิ่งเสพติดและหันมาเล่นกีฬามากขึ้น
สำนักปลัด
อบต.ยาง สว่าง
21
โครงการพระราชดำริด้านสาธารณสุขประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑
เพื่อส่งเสริมและพัฒนางานด้านสาธารณสุข
ปีละ 1 ครั้ง
220,000
(อบต.)
220,000
(อบต.)
220,000
(อบต.)
220,000
(อบต.)
1ครั้ง/ปี
ประชาชนมีความรู้ด้านด้านสาธารณสุขมากขึ้น
สำนักปลัด
อบต.ยาง สว่าง
รวม
21 โครงการ
-
-
-
-
-
80
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
3.ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิต สวัสดิการของชุมน
3.3 แผนงานงบกลาง
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
1
สนับสนุนเบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ปุวยเอดส์ และผู้ด้อยโอกาส
เพื่อให้ผู้สุงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสที่ขาดผู้เลี้ยงดูมีเงินเพื่อเลี้ยงชีพ
ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ปุวยเอดส์ ในเขตตำบลยางสว่าง
3,000,000
(อบต.)
3,000,000
(อบต.)
3,000,000
(อบต.)
3,000,000
(อบต.)
ร้อยละของประชาชนที่เข้าร่วม
ผู้สูงอายุผู้พิการแลผู้ด้อยโอกาสได้รับสวัสดิการการเบี้ยยังชีพ
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
รวม
1 โครงการ
-
-
3,000,000
3,000,000
3,000,000
3,000,000
-
-
-
81
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
3.ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิต สวัสดิการของชุมน
3.4 แผนงาน สร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
1
ส่งเสริมกิจกรรมต้านสิ่งเสพติดและพัฒนาคุณภาพชีวิตกลับสู่สังคม
เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนและสังคม
ปีละ 1 ครั้ง
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
ปีละ 1 ครั้ง
ประชานเข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านสิ่งเสพติด
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
2
ส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่มสตรี/แม่บ้านในเขตตำบลยางสว่าง
เพื่อให้กลุ่มสตรี/แม่บ้านมีกิจกรรมร่วมกัน
11 หมู่บ้าน
ในเขตตำบลยางสว่าง
110,000
(อบต.)
110,000
(อบต.)
110,000
(อบต.)
110,000
(อบต.)
ตามจำนวน
ครัวเรือน
กลุ่มแม่บ้านและ กลุ่ม อสม.มีกิจกรรมร่วมกันและสร้างประโยชน์ให้ชุมชน
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
3
โครงการสนับสนุนชมมผู้สูงอายุตำบลยางสว่าง
เพื่อพัฒนาและเพิ่มศักยภาพแก่ชมรมผู้สูงอายุ/ช่วยเหลือผู้สูงอายุ
ปีละ 1 ครั้ง
50,000
(อบต)
50,000
(อบต)
50,000
(อบต)
50,000
(อบต)
ปีละ1 ครั้ง
ชมรมผู้สูงอายุมีงบประมาณในการพัฒนาชมรมให้ดีขึ้น
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
4
โครงการสนับสนุนและช่วยเหลือผู้ประสพภัยพิบัติทางธรรมชาติ
เพื่อเป็นการช่วยเหลือผู้ประสพภัยพิบัติเบื้องต้น
11 หมู่บ้าน
ในเขตตำบลยางสว่าง
50,000
(อบต)
50,000
(อบต)
50,000
(อบต)
50,000
(อบต)
ปีละ1 ครั้ง
ชมรมผู้สูงอายุมีงบประมาณในการพัฒนาชมรมให้ดีขึ้น
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
5
โครงการสนับสนุน อสม. ตำบลยาง สว่าง
เพื่อพัฒนาศักยภาพกลุ่ม อสม. ตำบลยางสว่าง
11 หมู่บ้าน
300,000
(อบต)
300,000
(อบต)
300,000
(อบต)
300,000
(อบต)
ปีละ 1 ครั้ง
กลุ่ม อสม.ตำบลยางสว่างมีศักภาพเพิ่มขึ้น
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
6
โครงการสนับสนุนกลุ่มหรือชมรมต่างๆที่สร้างคุณประโยชน์ให้แก่ท้องถิ่นและสังคม
เพื่อส่งเสริมกลุ่มหรือชมรมที่สร้างคุณประโยชน์ให้แก่ท้องถิ่น
ตามความเหมาะสม
500,000
(อบต)
500,000
(อบต)
500,000
(อบต)
500,000
(อบต)
ตามจำนวน
ครัวเรือ
กลุ่มหรือชมรมที่สร้างคุณประโยชน์ให้แก่ท้องถิ่นได้รับการสนับสนุน
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
รวม
6 โครงการ
-
-
1,110,000
1,110,000
1,110,000
560,000
-
-
-
82
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
3.ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิต ด้านการกีฬาและนันทนาการ
3.5 แผนงานการศาสนาวัฒนธรรมและนันทนาการ
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
1
โครงการจัดหาวัสดุและอุปกรณ์กีฬาให้แก่ชุมชน
เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการแข่งขันกีฬา
ปีละ 1 ครั้ง
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
ปีละ1 ครั้ง
เด็ก เยาวชนและประชาชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
2
โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการแข่งขันกีฬาท้องถิ่นและการแข่งขันกีฬาอื่นๆ
เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการแข่งขันกีฬา
ปีละ 1 ครั้ง
150,000
(อบต.)
150,000
(อบต.)
150,000
(อบต.)
150,000
(อบต.)
ปีละ1 ครั้ง
เด็ก เยาวชนและประชาชนได้มีการร่วมกิจกรรมแข่งขันกีฬา
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
3
โครงการก่อสร้างและปรับปรุงลานกีฬาเอนกประสงค์ในชุมชน
เพื่อส่งเสริมการเล่นกีฬาและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
11 หมู่บ้าน
ในเขตตำบลยางสว่าง
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
ร้อยละของประชาชนทั่วไปที่ออกกาลังกาย
ส่งเสริมการเล่นกีฬาและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
4
โครงการการปรับปรุงภูมิทัศน์และจัดสวนหย่อมที่ทำการ อบต.
เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายและเป็นสถานที่พักผ่อน
1 แห่ง
600,000
(อบต.)
600,000
(อบต.)
600,000
(อบต.)
600,000
(อบต.)
ปีละ1 ครั้ง
ส่งเสริมการออกกำลังกายและเป็นสถานที่พักผ่อน
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
83
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
3.ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิต ด้านการกีฬาและนันทนาการ
3.5 แผนงานการศาสนาวัฒนธรรมและนันทนาการ
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
5
โครงการก่อสร้างสนามเด็กเล่นในชุมชน
เพื่อให้เด็กในชุมชนได้มีสนามเด็กเล่นและเพิ่มทักษะในการเล่น/ทำกิจกรรมต่างๆ
11 หมู่บ้าน
ในเขตตำบลยางสว่าง
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
ปีละ1 ครั้ง
เด็กในชุมชนได้มีสนามเด็กเล่นตามแบบมาตรฐานและปลอดภัย
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
6
โครงการส่งเสริมการทำกิจกรรมของเด็กและเยาวชนเพื่อสร้างการเรียนรู้ประสบการณ์ใหม่ๆแก่เด็กและเยาวชนตำบลยางสว่าง
เพื่อสร้างการเรียนรู้ประสบการณ์ใหม่ๆแก่เด็กและเยาวชนตำบลยางสว่าง
ปีละ 1 ครั้ง
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
ปีละ 1 ครั้ง
เด็กและเยาวชนตำบลยางสว่างไดทำกิจกรรมร่วมกันเป็นประจำทุกปีได้เรียนรู้ประสบการณ์ใหม่ๆ
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
รวม
6 โครงการ
-
-
1,350,000
1,350,000
1,350,000
1,250,000
-
-
-
84
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 3
ยุทธศาสตร์ ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
4.ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างจิตสานึกและตระหนักในการจัดการทรัพยากรน้า และสิ่งแวดล้อม
4.1 แผนงานการศาสนาวัฒนธรรมและนันทนาการ
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
1
โครงการส่งเสริมการอนุรักษ์น้ำและสัตว์น้ำเพื่อตำบลยางสว่าง
เพื่อสร้างจิตสำนึกให้แก่ประชาชนในการดูแลรักษาน้ำและสัตว์น้ำ
ปีละ 1 ครั้ง
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
ปีละ1 ครั้ง
ตำบลยางสว่างมีแหล่งน้ำที่อุดมสมบูรณ์และสัตว์น้ำมากมาย
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
2
โครงการส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เพื่อให้มีอาสาสมัครในกาอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อสิ่งแวดล้อม
ปีละ 1 ครั้ง
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
ปีละ1 ครั้ง
มีอาสาสมัครในการดูแทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
3
โครงการปลูกปุาถาวรเฉลิมพระเกียรติ
เพื่อให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ปีละ 1 ครั้ง
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
ปีละ1 ครั้ง
ประชาชนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
4
โครงการปรับปรุงและพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชน
เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีให้แก่ชุมชน
11 หมู่บ้าน
ในเขตตำบลยางสว่าง
110,000
(อบต.)
110,000
(อบต.)
110,000
(อบต.)
110,000
(อบต.)
ปีละ1 ครั้ง
ให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการดูแลรักษ์สิ่งแวดล้อมชุมชน
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
5
โครงการปลูกหญ้าแฝกตามพระราชดำริ
เพื่อปูองกันไม่ให้พังทลายและช่วยดูดซึมน้ำ
11 หมู่บ้าน
ในเขตตำบลยางสว่าง
60,000
(อบต.)
60,000
(อบต.)
60,000
(อบต.)
60,000
(อบต.)
ปีละ1 ครั้ง
ลดการพังทลายของดินและระบบนิเวศน์ดีขึ้น
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
6
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณปุาดงโพนทราย(จุดพักรถ)
เพื่อให้เป็นจุดพักรถสำหรับคนเดินทางและนักท่องเที่ยว
1 แห่ง
1,000,000
(อบต.)
1,000,000
(อบต.)
1,000,000
(อบต.)
1,000,000
(อบต.)
ปีละ1 ครั้ง
มีจุดพักรถสำหรับนักเดินทางและนักท่องเที่ยว จำนวน 1 จุด
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
รวม
6 โครงการ
-
-
1,370,000
1,370,000
1,370,000
1,370,000
-
-
-
85
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 3
ยุทธศาสตร์ ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
4.ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างจิตสานึกและตระหนักด้านการกาจัดขยะมูลฝอย
4.2 แผนงานการบริหารจัดการขยะและสิ่งปฎิกูล
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
1
รณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างจิตสำนึกในการกำจัดขยะมูลฝอยที่ถูกต้อง
เพื่อให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้น่าอยู่
ปีละ 1 ครั้ง
20,000
(อบต.)
20,000
(อบต.)
20,000
(อบต.)
20,000
(อบต.)
ปีละ 1 ครั้ง
ประชาชนมีจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้น่าอยู่มากขึ้น
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
2
สนับสนุนจัดสร้างที่ทิ้งขยะให้ชุมชน
เพื่อจัดหาสถานที่สำหรับทิ้งขยะที่ไม่สามารถย่อยสะลายได้และจัดหาถังขยะให้ชุมชน
11 แห่ง
500,000
(อบต.)
-
-
-
ร้อยละของจำนวน
ครัวเรือน
ประชาชนมีที่สำหรับทิ้งขยะที่ไม่สามารถย่อยสะลายได้และมีถังขยะ
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
3
โครงการสร้างเตาเผาขยะในชุมชน
เพื่อสร้างเตาเผาขยะให้ชุมชน
2 แห่ง
1,000,000
(อบต.)
1,000,000
(อบต.)
1,000,000
(อบต.)
-
2 แห่ง
ลดขยะมูลฝอยในชุมชนและทำให้สิ่งแวดล้อมในชุมชนน่าอยู่ขึ้น
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
4
โครงการจัดหาถังขยะให้แก่ชุมชน
เพื่อให้ชุมชนมีถังขยะใช้อย่างเพียงมีที่ทิ้งขยะถูกสุขลักษณะ
11 หมู่บ้าน
ในเขตตำบลยางสว่าง
110,000
(อบต.)
110,000
(อบต.)
110,000
(อบต.)
110,000
(อบต.)
ร้อยละของประชา
ชนที่เข้าร่วมโครงการ
ประชาชนและชุมชนมีถังสำหรับทิ้งขยะที่คงทนและสวยงาม
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
5
โครงการจัดหารถบรรทุกขยะ
เพื่อจัดหารถบรรทุกขยะสำหรับเก็บขยะในเขตตำบลยางสว่าง
1 คัน
2,000,000
2,000,000
2,000,000
2,000,000
ร้อยละของประชา
ชนเข้าร่วม
มีรถขยะสำหรับเก็บขยะในเขตตำบลยางสว่าง
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
รวม
5 โครงการ
-
-
3,630,000
3,130,000
3,130,000
2,130,000
-
-
-
86
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
5.ยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี สร้างเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน และองค์กรทุกภาคส่วน
5.1 แผนงานบริหารงานทั่วไป
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
1
จัดเวทีประชาคมเพื่อให้แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
เพื่อให้องค์กรภาคประชาชนมีความเข้มแข็งและมีส่วนร่วมทางการเมือง
ปีละ 11 ครั้ง
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
ปีละ1 ครั้ง
ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมและมีบทบาทในการกำหนดแนวทางการพัฒนาท้องถิ่น
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
2
จัดฝึกอบรมอาสาสมัครปูองกันภัยฝุายพลเรือน (อปพร.)
เพื่อพัฒนาศักยภาพและความสามารถของชุมชนในการปูองกันภัย
ปีละ 1 ครั้ง
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
ปีละ1 ครั้ง
มีอาสาสมัครปูองกันภัยฝุายพลเรือนเพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 10
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
3
โครงการอบรมสัมนาและศึกษาดูงานสำหรับเจ้าหน้าที่/ผู้นำชุมชน/ผู้นำองค์กร
เพื่อพัฒนาศักยภาพความรู้ความสามารถในการบริหารและการพัฒนาหมู่บ้าน
ปีละ 1 ครั้ง
300,000
(อบต.)
300,000
(อบต.)
300,000
(อบต.)
300,000
(อบต.)
ปีละ 1 ครั้ง
พัฒนาศักยภาพความรู้ในการบริหารและการพัฒนาหมู่บ้าน
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
4
โครงการจัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับจัดกิจกรรมในชุมชน
เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ชุมชน เช่น โต๊ะ เต้น เก้าอี้
11 หมู่บ้าน
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
200,000
(อบต.)
ปีละ1 ครั้ง
อำนวยความสะดวกให้แก่ชุมชน
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
5
โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย
เพื่อสนับสนุนให้ทุกช่วยกันทำความดีเพื่อชุมชน/สังคม
ปีละ 1 ครั้ง
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
ปีละ 1 ครั้ง
คนในสังคมมีจิตสำนึกในการทำความดีและทำความดีเพิ่มมากขึ้น
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
รวม
5 โครงการ
-
-
800,000
800,000
800,000
800,000
-
-
-
87
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
5.ยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี ศักยภาพของบุคลากรและองค์กร
5.2 แผนงานสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
1
จัดสร้างศูนย์คอมพิวเตอร์ระดับตำบล
เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนและเยาวชนมีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์
1 แห่ง
600,000
(อบต.)
600,000
(อบต.)
600,000
(อบต.)
600,000
(อบต.)
ปีละ 1 ครั้ง
พัฒนาศักยภาพด้านการศึกษาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
2
จัดหาครุภัณฑ์และวัสดุสำนักงานเพื่อพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ
เพื่อเพิ่มขีดความสามารถและศักยภาพของบุคลากรในการปฏิบัติงาน
ปีละ 1 ครั้ง
300,000
(อบต.)
300,000
(อบต.)
300,000
(อบต.)
300,000
(อบต.)
ปีละ 1 ครั้ง
บุคลากรศักยภาพในการปฏิบัติงานมากยิ่งขึ้น
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
3
สร้างศูนย์ข้อมูลข่าวสารระดับตำบล/ชุมชน
เพื่อประชาชนมีสถานที่ติดต่อรับข้อมูลข่าวสารในด้านต่างๆพร้อมสถานีวิทยุ
1 แห่ง
400,000
(อบต.)
400,000
(อบต.)
400,000
(อบต.)
400,000
(อบต.)
ปีละ 1 ครั้ง
อำนวยความสะดวกในการติดต่อขอรับข้อมูลข่าวสาร
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
4
ฝึกอบรมสัมมนาคณะผู้บริหาร พนักงาน สมาชิก อบต. และผู้นำชุมชนนอกสถานที่
เพื่อให้บุคลากรปฏิบัติงานตามภารกิจหน้าที่ได้อย่างเหมาะสมเพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน
ปีละ 1 ครั้ง
300,000
(อบต.)
300,000
(อบต.)
300,000
(อบต.)
300,000
(อบต.)
ปีละ 1 ครั้ง
บุคลากรปฏิบัติงานภารกิจหน้าที่ได้
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
88
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
5.ยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี ศักยภาพของบุคลากรและองค์กร
5.2 แผนงานสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
5
โครงการสำรวจและจัดทำแผนที่ภาษี
เพื่อเพิ่มศักยในการจัดเก็บรายได้และทราบถึงทรัพย์ สินภายในตำบลโดยละเอียด
ทั้งตำบล
300,000
(อบต.)
300,000
(อบต.)
300,000
(อบต.)
300,000
(อบต.)
ปีละ 1 ครั้ง
สามารถจัดเก็บรายได้เพิ่มมากขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
6
โครงการส่งเสริมการศึกษาแก่ผู้บริหาร/สมาชิกอบต./พนักงานและลูกจ้าง
เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพแก่ผู้บริหาร/สมาชิกอบต./พนักงานและลูกจ้าง
ผู้บริหาร/สมาชิกอบต./พนักงานและลูกจ้าง
300,000
(อบต.)
300,000
(อบต.)
300,000
(อบต.)
300,000
(อบต.)
ปีละ 1 ครั้ง
ผู้บริหาร/สมาชิกอบต./พนักงานและลูกจ้างได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
กองการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
7
โครงการดำเนินการบริหารจัดการอำนวยการสำหรับศูนย์ปฏิบัติการร่วมในการช่วยเหลือประชาชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อใช้เป็น สถานที่กลาง
เพื่อเป็นการอำนวยการศูนย์
ปฏิบัติการร่วมในการช่วยเหลือประชาชน
สนับสนุนศูนย์
ปฏิบัติการร่วมในการช่วยเหลือประชาชน
20,000
(อบต.)
20,000
(อบต.)
20,000
(อบต.)
20,000
(อบต.)
ปีละ 1 ครั้ง
สามารถเป็นสถานที่กลางเพื่อปฏิบัติร่วมกันขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
89
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
5.ยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี ระบบการบริการประชาชนตามมาตรฐาน
5.2 แผนงานสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
8
รณรงค์สร้างจิตสำนึกในการพัฒนาสังคม
เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักและมีจิตสำนึกในการอยู่ร่วมในสังคม
ปีละ 1 ครั้ง
20,000
(อบต.)
20,000
(อบต.)
20,000
(อบต.)
20,000
(อบต.)
ปีละ 1 ครั้ง
ประชาชนมีความตระหนักและมีจิตสำนึกในการอยู่ร่วมในสังคมมากขึ้น
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
9
ติดตั้งปูายชื่อสถานที่สำคัญ ปูายอาณาเขตตำบลยางสว่าง
เพื่ออำนวยความสะดวกในการสัญจรของประชาชนต่างถิ่น
11 หมู่บ้าน
ในเขตตำบลยางสว่าง
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
ปีละ 1 ครั้ง
อำนวยความสะดวกในการสัญจรของประชาชนต่างถิ่น
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
10
ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดระเบียบจราจรภายในชุมชน
เพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุทางด้านการจารจร
11 หมู่บ้าน
ในเขตตำบลยางสว่าง
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
ปีละ 1 ครั้ง
อำนวยความสะดวกในการสัญจรของประชาชนต่างถิ่น
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
11
โครงการก่อสร้างและปรับปรุงซ่อมแซมหอกระจายข่าวประจำหมู่บ้าน
เพื่อช่วยให้ประชาชนได้รับทราบข่าวสารอย่างรวดเร็วและทันเหตุการณ์
11 หมู่บ้าน
ในเขตตำบลยางสว่าง
110,000
(อบต.)
110,000
(อบต.)
110,000
(อบต.)
110,000
(อบต.)
ปีละ 1 ครั้ง
ประชาชนในเขตตำบลยางสว่างได้รับรู้ข่าวสารทันเวลาและทันเหตุการณ์
ส่วนโยธา
อบต.ยางสว่าง
12
โครงการพัฒนาและปรับปรุงศูนย์รวมข้อมูลข่าวสารระดับท้องถิ่นและระดับอำเภอ
เพื่อปรับปรุงศูนย์รวมข้อมูลระดับท้องถิ่นและระดับอำเภอ
ปีละ 1 ครั้ง
20,000
(อบต.)
20,000
(อบต.)
20,000
(อบต.)
20,000
(อบต.)
ปีละ 1 ครั้ง
อำเภอรัตนบุรีมีศูนย์รวมข้อมูลข่าวสารการจักซื้อหรือการจัดจ้าง
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
13
โครงการก่อสร้างศาลาเอนกประสงค์
เพื่อให้หมู่บ้านมีศาลาใช้ในการทำกิจกรรมต่างๆและใช้ประชุม
11 แห่ง
3,000,000
(อบต)
3,000,000
(อบต)
3,000,000
(อบต)
-
ปีละ 1 ครั้ง
ราษฎรใช้เป็นที่ประชุมและจัดกิจกรรมอื่นๆได้
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
รวม
13 โครงการ
-
-
-
-
-
90
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
6.ยุทธศาสตร์ ตามแผนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและตามแนวทางนโยบายของรัฐบาล การถ่ายโอนภารกิจการศึกษา
6.1แผนงานการศึกษา
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
1
ส่งเสริมโครงการอาหารกลางวันและอาหารเสริม(นม)
เพื่อให้เด็กนักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวันอย่างทั่วถึง
7 แห่ง
3,000,000
อบต.
3,000,000
อบต.
3,000,000
อบต.
3,000,000
อบต.
ร้อยละของจานวนนักเรียน
เด็กนักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวันตามนโยบายของรัฐ
ส่วนการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
2
โครงการปรับปรุงระบบสุขอนามัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
เพื่อให้เด็กมีสุขอนามัยที่ดี
4 แห่ง
50,000
อบต.
50,000
อบต.
50,000
อบต.
50,000
อบต.
ร้อยละของจานวนนักเรียน
เด็กมีสุขอนามัยที่ดี และมีสถานที่สะอาดปลอดภัย
ส่วนการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
3
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในศูนย์เด็กทั้ง 4 ศูนย์
เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์ให้ดูสะอาด เป็นระเบียบ และปลอดภัย
4 แห่ง
50,000
อบต.
50,000
อบต.
50,000
อบต.
50,000
อบต.
ปีละ 1 ครั้ง
ภูมิทัศน์และสภาพแวดล้อมบริเวณศูนย์เล็กสะอาดสวยงามเป็นระเบียบและปลอดภัย
ส่วนการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
4
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียนแก่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง 4 ศูนย์
เพื่อปรับปรุงอาคารเรียนให้ดีขึ้นและจะเพิ่มบรรยากาศที่ให้แก่เด็กนักเรียนในการเรียน
4 แห่ง
300,000
อบต.
300,000
อบต.
300,000
อบต.
300,000
อบต.
ปีละ 1 ครั้ง
อาคารเรียนได้รับการปรัปรุงให้ดีขึ้นและจะเพิ่มบรรยากาศที่ให้แก่เด็กนักเรียนในการเรียน
ส่วนการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
5
โครงการจัดหารถรับ-ส่งนักเรียนในเขตตำบลยางสว่าง
เพื่อให้เด็กนักเรียนเดินทางไป-กลับโรงเรียนโดยสะดวกปลอดภัย
2 คัน
2,300,000
อบต.
2,300,000
อบต.
2,300,000
อบต.
2,300,000
อบต.
ร้อยละของจานวนนักเรียน
เด็กนักเรียนในเขตตำบลยางสว่างมีรถรับ-ส่งไปโรงเรียนอย่างสะดวกปลอดภัย
ส่วนการศึกษา
อบต.ยางสว่าง
รวม
5 โครงการ
-
-
5,700,000
5,700,000
5,700,000
5,700,000
-
-
-
91
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
6.ยุทธศาสตร์ ตามแผนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและแนวนโยบายของรัฐบาล การป้องกัน เฝ้าระวัง รักษาบาบัดผู้เสี่ยงติดยาเสพติด และการรักษาสภาพชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน
6.2 แผนงานสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
1
สนับสนุนการแข่งขันกีฬาต้านยาเสพติดประจำปี
เพื่อให้เด็ก เยาวชน ประชาชนเข้าร่วมแข่งขันกีฬาต้านยาเสพติด
ปีละ 1 ครั้ง
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
ปีละ 1 ครั้ง
เด็กเยาวชนประชาชนเข้าร่วมแข่งขันกีฬาต้านยาเสพติด และสุขภาพแข็งแรง
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
รวม
1 โครงการ
-
-
100,000
100,000
100,000
100,000
-
-
-
92
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4
ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
6.ยุทธศาสตร์ ตามแผนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและแนวนโยบายของรัฐบาล ด้านระบบความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดปัญหาความรุนแรงในครอบครัว อุบัติเหตุ อุบัติภัย อาญชญากรรมและการบรรเทาสาธารณภัย
6.3 แผนงานสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2561
2562
2563
2564
1
โครงการณรงค์การขับขี่ปลอดภัยปฏิบัติตามวินัยจราจร
เพื่อปูองกันและลดอุบัติเหตุทางถนนที่เกิดขึ้นช่วงเทศกาลต่างๆ
6 ครั้ง
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
100,000
(อบต.)
2ครั้ง/ปี
การเกิดอุบัติเหตุ ในช่วงเทศกาลมีปริมาณลดลง
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
2
โครงการสนับสนุนทีมกู้ภัยระดับตำบล(หนึ่งตำบลหนึ่งทีมกู้ชีพกู้ภัย)
เพื่อสนับสนุนส่งเสริมหน่วยกู้ชีพประจำตำบลยางสว่าง
3 ครั้ง
40,000
(อบต.)
40,000
(อบต.)
40,000
(อบต.)
40,000
(อบต.)
ปีละ 1 ครั้ง
สามารถให้ความช่วยเหลือการเกิดอุบัติเหตุอุบัติภัย
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
3
โครงการสนับสนุนและพัฒนาศักยภาพตำรวจหมู่บ้านตำบลยางสว่าง
เพื่อเพิ่มและพัฒนาศักยภาพตำรวจหมู่บ้านตำบลยางสว่าง
11 หมู่บ้าน
ในเขตตำบลยางสว่าง
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
ปีละ 1 ครั้ง
ตำรวจหมู่บ้านตำบลยางสว่างสามารถปฏิบัติหน้าที่เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
4
โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องกฎหมาย การปูองกันอาชญากรรม กฎการปูองกันยาเสพติด และกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการดำรงชีวิต
เพื่อใช้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ในการปูองกันอาชญากรรม ยาเสพติดและกฎหมายอื่นๆที่ต้องใช้ในชีวิตประจำวัน
ปีละ 1 ครั้ง
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
50,000
(อบต.)
ปีละ 1 ครั้ง
ประชาชนในชุมชนมีความรู้ในการปูองกันอาชญากรรม ยาเสพติดและกฎหมายอื่นๆที่ต้องใช้ในชีวิตประจำวัน
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
รวม
4 โครงการ
-
-
240,000
240,000
240,000
240,000
-
-
-
85
93
รายละเอียดโครงการพัฒนา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี ( พ.ศ. 2561 - 2564 )
สาหรับ อุดหนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรประชาชน
องค์การบริหารส่วนตาบลยางสว่าง อาเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์
ก. ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
ข. ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด
1) ยุทธศาสตร์ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
1.1 แผนงานเคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วย
งาน
รับผิด
ชอบหลัก
2561
(บาท)
2562
(บาท)
2563
(บาท)
2564
(บาท)
1
โครงการติดตั้งและซ่อมแซมโคมไฟฟูาสาธารณะภายในตำบลยางสว่าง
เพื่อให้ประชาชนมีความสะดวก และปลอดภัยในการสัญจรไปมาในเวลาค่ำคืน
ขยายเขตไฟฟูา ตาม
การไฟฟูาส่วนภูมิภาคอำเภอรัตนบุรีกำหนด
11 หมู่บ้าน
200,000
(60 : 200,000)
(59 : 200,000)
(58 : 200,000)
(57 : 200,000)
200,000
200,000
200,000
ร้อยละของประชาชนที่มีไฟฟูาใช้
ทำให้ประชา
ชนได้มีไฟฟูาใช้อย่างเพียงพอ
กองช่าง
2
โครงการขยายเขตและปรับปรุงไฟฟูาสาธารณะแรงต่ำตำบลยางสว่าง
เพื่อขยายเขตการให้บริการด้านไฟฟูาอย่างทั่วถึงทุกครัวเรือน
ขยายเขตไฟฟูา ตาม
การไฟฟูาส่วนภูมิภาคอำเภอรัตนบุรีกำหนด
11 หมู่บ้าน
500,000
(60 : 500,000)
(59 : 500,000)
(58 : 500,000)
(57 : 500,000)
500,000
500,000
500,000
ร้อยละของประชาชนที่มีไฟฟูาใช้
ประชาชนได้รับบริการด้านไฟฟูาอย่าง
กองช่าง
รวม
2 โครงการ
-
-
700,000
700,000
700,000
700,000
-
-
-
94
แบบ ผ.02
ก. ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
ข. ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด
2) การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ
2.1 แผนงานสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วย
งาน
รับผิด
ชอบหลัก
2561
(บาท)
2562
(บาท)
2563
(บาท)
2564
(บาท)
1
โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการทำ
ปศุสัตว์ของเกษตรกรในเขตตำบลยางสว่าง
เพื่อสนับสนุนสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสุรินทร์ใช้สำหรับพัฒนาศักยภาพขององค์กร
11 หมู่บ้าน
100,000
(60 : 100,000)
(59 : 100,000)
(58 : 100,000)
(57 : 100,000)
100,000
100,000
100,000
1ครั้ง/ปี
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสุรินทร์สามารถดูแลเกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
รวม
1 โครงการ
-
-
100,000
100,000
100,000
100,000
-
-
-
95
แบบ ผ.02
ก. ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 4 ด้านการพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความเสมอภาค
ข. ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด
3.ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิต
3.1 แผนงาน สร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วย
งาน
รับผิด
ชอบหลัก
2561
(บาท)
2562
(บาท)
2563
(บาท)
2564
(บาท)
1
โครงการสนับสนุน อสม. ตำบลยางสว่าง
เพื่อพัฒนาศักยภาพกลุ่ม อสม.
ตำบลยางสว่าง
11 หมู่บ้าน
300,000
(60 : 300,000)
(59 : 300,000)
(58 : 300,000)
(57 : 300,000)
300,000
(60 :300,000)
(59 : 300,000)
(58 : 300,000)
(57 : 300,000)
300,000
(60 :300,000)
(59 : 300,000)
(58 : 300,000)
(57 : 300,000)
300,000
(60 :300,000)
(59 : 300,000)
(58 : 300,000)
(57 : 300,000)
ปีละ 1 ครั้ง
กลุ่ม อสม.
ตำบลยางสว่างมีศักภาพเพิ่มขึ้น
สำนักปลัด
อบต.ยางสว่าง
รวม
1 โครงการ
-
-
300,000
300,000
300,000
300,000
-
-
-
96
รายละเอียดโครงการพัฒนา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี ( พ.ศ. 2561 - 2564 )
สาหรับ ประสานโครงการพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
องค์การบริหารส่วนตาบลยางสว่าง อาเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์
ก. ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ ๒ ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
ข. ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด
1.ยุทธศาสตร์ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
1.1 แผนงาน เคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงาน
รับผิดชอบหลัก
2561
(บาท)
2562
(บาท)
2563
(บาท)
2564
(บาท)
1
โครงการก่อสร้างถนนลาดยางตามแบบมาตรฐานจาก ม.5 - บ้านยางเตี้ย ม.6 ตำบลเบิด
เพื่อให้ราษฎรได้สัญจรไปมาได้สะดวก
8.003,000 ม.
10,000,000
-
-
-
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฎรภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้านได้รับความสะดวกในการเดินทาง
กองช่าง
อบต.
ยางสว่าง
2
โครงการก่อสร้างถนนลาดยางตามแบบมาตรฐานจาก จากแยกลาดยางสายศรีสะเกษ-บ้านแก่นท้าว-ดงดั่ง
เพื่อให้ราษฎรได้สัญจรไปมาได้สะดวก
8.003,000 ม.
10,000,000
-
-
-
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฎรภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้านได้รับความสะดวกในการเดินทาง
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงาน
รับผิดชอบหลัก
2561
(บาท)
2562
(บาท)
2563
(บาท)
2564
(บาท)
3
โครงการก่อสร้างถนน คสล. หมู่ที่ 3 บ้านแก่นท้าว
เพื่อให้ราษฎรได้ใช้สัญจรไปมาได้สะดวกภายในหมู่บ้าน
40.151,000 ม.
2,000,000 (อบต.)
-
-
-
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฏรได้รับความสะดวกในการสัญจรไปมาภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้าน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
4
โครงการก่อสร้างถนน คสล.ภายใหมู่บ้าน หมู่ที่ 5
บ้านน้อยพัฒนา
เพื่อให้ราษฎรได้ใช้สัญจรไปมาได้สะดวกภายในหมู่บ้าน
50.15500 ม.
1,000,000
(อบต.)
-
-
-
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฏรได้รับความสะดวกในการสัญจรไปมาภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้าน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
5
โครงการก่อสร้างถนน คสล. หมู่ที่ 7 บ้านขะยูง
เพื่อให้ราษฎรได้ใช้สัญจรไปมาได้สะดวดภายในหมู่บ้าน
40.15500 ม.
1000,000
(อบต.)
-
-
-
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฏรได้รับความสะดวกในการสัญจรไปมาภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้าน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
6
โครงการก่อสร้างถนน คสล. ภายใน หมู่ที่ 8 บ้านโนนสังข์
เพื่อให้ราษฎรได้ใช้สัญจรไปมาได้สะดวกภายในหมู่บ้าน
40.15500 ม.
1,000,000
(อบต.)
-
-
-
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฏรได้รับความสะดวกในการสัญจรไปมาภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้าน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
98
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงาน
รับผิดชอบหลัก
2561
(บาท)
2562
(บาท)
2563
(บาท)
2564
(บาท)
7
โครงการก่อสร้างถนน คสล. ภายในหมู่บ้านและถนน คสล.บ้านยาง หมู่ที่1
เพื่อให้ราษฎรได้ใช้สัญจรไปมาได้สะดวกภายในหมู่บ้าน
50.15500 ม.
1,000,000
(อบต.)
-
-
-
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฏรได้รับความสะดวกในการสัญจรไปมาภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้าน
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
8
โครงการก่อสร้างถนนลาดยางแบบ อบต.กำหนดจากบ้านขะยูง-หนองอียอ
เพื่อให้ราษฎรได้สัญจรไปมาได้สะดวกและปลอดภัย
8.002,000 ม.
-
5,000,000
(อบจ./อบต.)
-
-
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฎรภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้านได้รับความสะดวกในกาเดินทาง
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
9
โครงการก่อสร้างถนนลาดยางแบบ อบต.กำหนดจาก ม.3 - ม.4 - ม.11 ม.2 , ม.8 , ม.10
เพื่อให้ราษฎรได้สัญจรไปมาได้สะดวกและปลอดภัย
8.008,000 ม.
16,000,000
(อบจ.)
-
-
-
ร้อยละของความยาวถนน
ราษฎรภายในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้านได้รับความสะดวกในการเดินทาง
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
10
โครงการขุดลอกห้วยพอก บ้านนางเข็ม -ม.2 ฝายกั้นน้ำพร้อมประตูระบายน้ำ 3 ช่อง
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำ
1 แห่ง
1,500,000
(อบต.)
-
-
-
1ครั้ง/ปี
ราษฎรมีแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรและเป็นแหล่งเพาะพันธ์ปลา
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
99
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงาน
รับผิดชอบหลัก
2561
(บาท)
2562
(บาท)
2563
(บาท)
2564
(บาท)
11
ซ่อมบำรุงสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟูา สถานีสูบน้ำบ้านกล้วย สถานีสูบน้ำบ้านยาง และบ้านหนองบัวศรีสว่าง
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมอุปกรณ์และสถานีสูบน้ำให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
3 แห่ง
2,000,000
(อบต)
2,000,000
(อบต)
2,000,000
(อบต)
-
จำนวนครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอ
สามารถให้บริการแก่ประชาชนที่ใช้บริการสาถนีสูบน้ำด้วยไฟฟูาได้เพิ่มมากขึ้น
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
12
ขุดลอกแก้มลิงกุดนางเข็มพร้อมอาคารประกอบ
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำ
1 แห่ง
5,000,000
(อบต)
5,000,000
(อบต)
5,000,000
(อบต)
-
ร้อยละของความยาว
เพิ่มผลผลิตทางการประมงให้มีปริมาตรมากขึ้นและมีแหล่งน้ำทำการเกษตร
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
13
ขุดลอกแก้มลิงหนองบัวศรีสว่างพร้อมอาคารประกอบ
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำ
1 แห่ง
5,000,000
(อบต)
5,000,000
(อบต)
5,000,000
(อบต)
-
ร้อยละของความยาว
เพิ่มผลผลิตทางการประมงให้มีปริมาตรมากขึ้นและมีแหล่งน้ำทำการเกษตร
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
14
โครงการขุดลอกแก้มลิงหนองฆ่าหมู
หมู่8
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำ
1 แห่ง
10,000,000
(อบต)
10,000,000
(อบต)
10,000,000
(อบต)
-
จำนวนครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอ
เพิ่มผลผลิตทางการประมงให้มีปริมาตรมากขึ้นและมีแหล่งน้ำทำการเกษตร
กองช่าง
อบต.ยางสว่าง
รวม
14 โครงการ
65,500,000
27,000,000
22,000,000
-
-
-
-
100
รายละเอียดโครงการพัฒนา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี ( พ.ศ. 2561 - 2564 )
สาหรับ ประสานโครงการพัฒนาจังหวัด
องค์การบริหารส่วนตาบลยางสว่าง อาเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์
ก. ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
ข. ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด
1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้า ขุดลอกแหล่งน้า
1.1 แผนงานเคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงาน
รับผิดชอบหลัก
2561
(บาท)
2562
(บาท)
2563
(บาท)
2564
(บาท)
1
โครงการขุดลอกหนองยางและก่อสร้างท่อเหลี่ยม
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำ
1 แห่ง
7,000,000
(60 : 0)
(59 : 0)
(58 : 0)
(57 : 0)
-
-
-
ร้อยละของประชาชนผู้ได้ประโยชน์
เพิ่มผลผลิตทางการประมงให้มีปริมาณมากขึ้นและมีแหล่งน้ำทำการเกษตร
กองช่าง
2
โครงการขุดลอกหนองบัวนอก/หนองบัวใน/หนองนางกวย
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำ
3 แห่ง
3,000,000
(60 : 0)
(59 : 0)
(58 : 0)
(57 : 0)
-
-
-
ร้อยละของความลึกเฉลี่ย
ประชาชนมีน้ำไว้ใช้ในการอุปโภคบริโภคในหน้าแล้ง
กองช่าง
93
101
แบบ ผ.05
ก. ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 2 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
ข. ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด
1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ท่อระบายน้า ขุดลอกแหล่งน้า
1.1 แผนงานเคหะและชุมชน
ที่
โครงการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
งบประมาณและที่มา
ตัวชี้วัด
(KPI)
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงาน
รับผิดชอบหลัก
2561
(บาท)
2562
(บาท)
2563
(บาท)
2564
(บาท)
3
ซ่อมบำรุงสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟูา สถานีสูบน้ำบ้านกล้วยสถานีสูบน้ำบ้านยางและบ้านหนองบัวศรีสว่าง,บ้านโนนสังข์
เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมอุปกรณ์และสถานีสูบน้ำให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
3 แห่ง
200,000
(60 : 0)
(59 : 0)
(58 : 0)
(57 : 0)
200,000
200,000
200,000
จำนวนครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอ
สามารถให้บริการแก่ประชาชนที่ใช้บริการสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟูาได้เพิ่มมากขึ้น
กองช่าง
4
โครงการก่อสร้างสถานี/คลองส่งน้ำด้วยพลังไฟฟูา
เพื่อเสริมให้ราษฎรทำเกษตรนอกฤดูกาล
3 แห่ง
2,200,000
(60 : 0)
(59 : 0)
(58 : 0)
(57 : 0)
-
-
-
จำนวนครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอ
เกษตรกรสามารถทำการเกษตรและทำอาชีพอื่นนอกฤดูกาลได้
กองช่าง
5
ขุดลอกแก้มลิงกุดนางเข็มพร้อมอาคารประกอบ
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำ
1 แห่ง
5,000,000
(60 : 0)
(59 : 0)
(58 : 0)
(57 : 0)
-
-
-
ร้อยละของความยาว
เพิ่มผลผลิตทางการประมงให้มีปริมาตรมากขึ้นและมีแหล่งน้ำทำการเกษตร
กองช่าง
95
102
บัญชีครุภัณฑ์
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 2564)
องค์การบริหารส่วนตาบลยางสว่าง
ที่
แผนงาน
หมวด
ประเภท
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของครุภัณฑ์)
งบประมาณและที่ผ่านมา
หน่วยงานรับผิดชอบ
2561
(บาท)
2562
(บาท)
2563
(บาท)
2564
(บาท)
1
บริหารงานทั่วไป
ครุภัณฑ์
ครุภัณฑ์สำนักงาน
เพื่อให้มีตู้สำหรับเก็บเอกสาร
ตู้สำหรับเก็บเอกสารจำนวน 2 หลัง ๆ ละ 5000 บาท (มอก.)
10,000
0
0
0
สำนักปลัด
2
บริหารงานทั่วไป
ครุภัณฑ์
ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
จัดซื้อเครื่องพิมพ์Multifunction เลเซอร์ LED 1
จำนวน 1 เคริ่องๆ ละ
17,000 บาท
17,000
0
0
0
สำนักปลัด
3
บริหารงานทั่วไป
ครุภัณฑ์
ครุภัณฑ์สำนักงาน
เพื่อเก็บเอกสารการเงินละบัญชี
ตู้สำหรับเก็บเอกสารจำนวน 2 หลัง ๆ ละ 5000 บาท (มอก.)
10,000
0
0
0
กองคลัง
4
บริหารงานทั่วไป
ครุภัณฑ์
ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
จัดซื้อเครื่องพิมพ์ชนิดเลเซอร์เพื่อใช้สำหรับงานการเงิน
จำนวน 1 เครื่อง ๆ
ละ 3,900 บาท
3,900
0
0
0
กองคลัง
5
บริหารงานทั่วไป
ครุภัณฑ์
ครุภัณฑ์สำนักงาน
จัดซื้อพัดลมติดผนัง
จำนวน 2 ตัว ๆ
ละ 2,500 บาท
5,000
0
0
0
กองคลัง
6
บริหารงานทั่วไป
ครุภัณฑ์
ครุภัณฑ์สำนักงาน
เพื่อเก็บเอกสารการเงินละบัญชี
ตู้เหล็ก 40 ช่อง
ตู้สำหรับเก็บเอกสารจำนวน 1 หลัง ๆ
ละ 6,000 บาท
6,000
0
0
0
กองคลัง
103
บัญชีครุภัณฑ์ แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 2564)
องค์การบริหารส่วนตาบลยางสว่าง
ที่
แผนงาน
หมวด
ประเภท
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของครุภัณฑ์)
งบประมาณและที่ผ่านมา
หน่วยงารับผิดชอ2561
(บาท)
2562
(บาท)
2563
(บาท)
2564
(บาท)
7
งานเคหะและชุมชน
ครุภัณฑ์
ครุภัณฑ์สำนักงาน
เพื่อให้มีตู้สำหรับเก็บเอกสาร
2 บาน
จำนวน 1 หลัง ๆ ละ 5000 บาท (มอก.)
5,000
0
0
0
กองช่าง
8
งานเคหะและชุมชน
ครุภัณฑ์
ครุภัณฑ์สำนักงาน
จัดซื้อโต๊ะทำงานระดับ3-5
จำนวน 1 ตัวๆ
ละ 5,000 บาท
5,000
0
0
0
กองช่าง
9
งานเคหะและชุมชน
ครุภัณฑ์
ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
จัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมปริ้นเตอร์
จำนวน 1 ชุดๆ
ละ 19,300 บาท
19,300
0
0
0
กองช่าง
10
แผนงานการศึกษา
ครุภัณฑ์
ครุภัณฑ์สำนักงาน
เพื่อให้มีตู้สำหรับเก็บเอกสาร
2 บาน
ตู้สำหรับเก็บเอกสารจำนวน 4 หลัง ๆ ละ 5,700 บาท (มอก.)
22,800
0
22,800
0
ส่วนการศึก11
แผนงานการศึกษา
ครุภัณฑ์
ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
จัดซื้อเครื่องพิมพ์ชนิดเลเซอร์เพื่องานเอกสารส่วนการศึกษา
จำนวน 2 เครื่องๆ
ละ 3,000 บาท
6,000
0
6,000
0
ส่วนการศึก12
แผนงานการศึกษา
ครุภัณฑ์
ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
จัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์
จำนวน 1 ชุดๆ
ละ 16,000 บาท
16,000
0
16,000
0
ส่วนการศึก13
แผนงานการศึกษา
ครุภัณฑ์
ครุภัณฑ์สำนักงาน
จัดซื้อเครื่องถ่ายเอกสารส่วนการศึกษา
จำนวน 1 เครื่องๆ
ละ 50,000 บาท
50,000
0
50,000
0
ส่วนการศึก
104
บัญชีครุภัณฑ์ แบบ ผ.0๘
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 2564)
องค์การบริหารส่วนตาบลยางสว่าง
ที่
แผนงาน
หมวด
ประเภท
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
(ผลผลิตของครุภัณฑ์)
งบประมาณและที่ผ่านมา
หน่วยงารับผิดชอ2561
(บาท)
2562
(บาท)
2563
(บาท)
2564
(บาท)
14
แผนงานการศึกษา
ครุภัณฑ์
ครุภัณฑ์สำนักงาน
จัดหาตู้นิรภัยเพื่อความปลอดภัย
ศพด.
จำนวน 3 หลังๆ
ละ 20,000 บาท
60,000
0
60,000
0
ส่วนการศึ15
แผนงานการศึกษา
ครุภัณฑ์
ครุภัณฑ์สำนักงาน
จัดซื้อโต๊ะทำงาน
จำนวน 2 ชุดๆ
ละ 4,000 บาท
8,000
0
8,000
0
ส่วนการศึ16
แผนงานการศึกษา
ครุภัณฑ์
ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
จัดซื้อโต๊ะคอมพิวเตอร์
จำนวน 1 ชุดๆ
ละ 2,000 บาท
2,000
0
2,000
0
ส่วนการศึรวม
246,000
0
164,800
0
105
ส่วนที่ ๕
การติดตามและประเมินผล
1.การติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์ ใช้แนวทางการติดตามและประเมินผลตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2558 (แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2559 ) กาหนดให้คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่นมีอานาจหน้าที่ในการกาหนดแนวทาง วิธีการในการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา ดาเนินการติดตามและประเมินผลแผน เมื่อดาเนินการเสร็จแล้วรายงานผลและเสนอความเห็นซึ่งได้จากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อให้ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอต่อสภาท้องถิ่น คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น และประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบโดยทั่วกันอย่างน้อยปีละสองครั้ง ภายในเดือนเมษายนและเดือนตุลาคมของทุกปี ทั้งนี้ให้ปิดประกาศโดยเปิดเผยไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
1. ข้อมูลสภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 20 คะแนน
2. การวิเคราะห์สภาวการณ์และศักยภาพ 15 คะแนน
3. ยุทธศาสตร์ประกอบด้วย 65 คะแนน
3.1 ยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (10) คะแนน
3.2 ยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด(10) คะแนน
3. ยุทธศาสตร์จังหวัด (10) คะแนน
3.4 วิสัยทัศน์ (5) คะแนน
3.5 กลยุทธ์ (5) คะแนน
3.6 เปูาประสงค์ของแต่ละประเด็นกลยุทธ์ (5) คะแนน
3.7 จุดยืนทางยุทธศาสตร์ (5) คะแนน
3.8 แผนงาน (5) คะแนน
3.9 ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์ในภาพรวม (5) คะแนน
3.10 ผลผลิต/โครงการ (5) คะแนน
รวมคะแนน 100 คะแนน
เกณฑ์ที่ควรได้เพื่อให้เกิดความสอดคล้องและขับเคลื่อนการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่ควรน้อยกว่าร้อยละ 80( 80คะแนน )
2. การติดตามและประเมินผลโครงการ ใช้แนวทางการพิจารณาการติดตามและประเมินผลโครงการเพื่อความสอดคล้องแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี ประกอบด้วย
1. การสรุปสถานการณ์การพิจารณา 10 คะแนน
2. การประเมินผลการนำแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีไปปฏิบัติในเชิงปริมาณ 10 คะแนน
3. การประเมินผลการนำแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีไปปฏิบัติในเชิงคุณภาพ 10 คะแนน
4. แผนงานและยุทธศาสตร์การพิจารณา 10 คะแนน
5. โครงการพัฒนา ประกอบด้วย 60 คะแนน
106
5.1 ความชัดเจนของชื่อโครงการ (5) คะแนน
5.2 กำหนดวัตถุประสงค์สอดคล้องกับโครงการ (5) คะแนน
5.3 เปูาหมาย (ผลผลิตของโครงการ) มีความชัดเจนนำไปสู่
การตั้งงบประมาณได้ถูกต้อง (5) คะแนน
5.4 โครงการมีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (5) คะแนน
5.5 เปูาหมาย (ผลผลิตของโครงการ) มีความสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และ สังคมแห่งชาติ (5) คะแนน
5.6โครงการมีความสอดคล้องกับ Thailand 4.0 (5) คะแนน
5.7 โครงการสอดคล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัด (5) คะแนน
5.8 โครงการแก้ไขปัญหาความยากจนหรือการเสริมสร้าง
ให้ประเทศชาติมั่งคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ภายใต้หลักประชารัฐ (5) คะแนน
5.9งบประมาณ มีความสอดคล้องกับเปูาหมาย
(ผลผลิตของโครงการ) (5) คะแนน
5.10 มีการประมาณการราคาถูกต้องตามหลักวิธี
การงบประมาณ (5) คะแนน
5.11มีการกำหนดตัวชี้วัด (KPI) และสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์และผลคาดว่าที่จะได้รับ (5) คะแนน
5.12 ผลที่คาดว่าจะได้รับ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ (5) คะแนน
รวมคะแนน 100 คะแนน
3.สรุปผลการพัฒนาท้องถิ่นในภาพรวม
3.1 การวัดผลในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
โดยใช้แบบสำหรับการติดตามและประเมินผลเชิงปริมาณและคุณภาพดังนี้
1 แบบตัวบ่งชี้การปฏิบัติงาน(Performance indicators )
2 แบบบัตรคะแนน(scorecard model ) แบบบัตรคะแนน หรือ scorecard model ของ Kaplan & Norton
3 แบบมุ่งวัดผลสัมฤทธิ์ ( Result framework model (RF)
4.แบบเชิงเหตุผล( Logical Model ) ตัวแบบเชิงเหตุผล หรือ logical Model
5.แบบวัดกระบวนการปฏิบัติงาน( Process Performance Measurement system ( PPMS )
6.แบบการประเมินโดยใช้วิธีการแก้ปัญหาหรือเรียนรู้จากปัญหาที่เกิดขึ้นหรือ Problem solving Method
7. แบบการประเมินแบบส่วนร่วม ( Participatory Methods )
8. แบบการประเมินผลกระทบ (Impact Eevluation)
9.แบบการประเมินความสี่ยง ( Risk Assessment Model )
10. แบบการประเมินตนเอง (self- Assessment Model )
107
11.แบบอื่นๆที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกำหนดขึ้น ทั้งนี้ต้องอยู่ภายใต้กรอบ ข้อ ( 1 )- (10) หรือเป็นแบบผสมก็ได้
เชิงปริมาณ (Quantity) เชิงคุณภาพ (Quality) ผลที่ได้จริงๆคืออะไร ค่าใช้จ่าย (Cost) เวลา (Time) เป็นไปตามที่กาหนดไว้หรือไม่
ประชาชนได้ประโยชน์อย่างไรหรือราชการได้ประโยชน์อย่างไร
วัดผลนั้นได้หรือไม่ หรือวัดได้เท่าไหร่ (Key Performance Indicator : KPIs)
ผลกระทบ (Impact)
4. ข้อเสนอแนะในการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นในอนาคต
4.1 ผลกระทบนาไปสู่อนาคต (เช่น จะทา สนับสนุน ส่งเสริม ป้องกัน อย่างไร เป็นต้น)
ในทฤษฎีทางวิชาการการจัดการ ชี้ว่า องค์กรต่างๆไม่ว่าจะเป็นองค์กรภาครัฐหรือองค์กรภาคเอกชนจะพัฒนา เติบโตและอยู่รอดได้ต้องมีการปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมภายนอก 4 ประการ (PEST) ตลอดเวลา ซึ่งประกอบไปด้วย
1) สิ่งแวดล้อมด้านการเมือง (Political Environment)
2) สิ่งแวดล้อมด้านเศรษฐกิจ (Economic Environment)
3) สิ่งแวดล้อมด้านสังคม (Social Environment) และ
4) สิ่งแวดล้อมด้านวิทยาการใหม่ๆ (Technology)
องค์การ
(Organization)
พัฒนา เติบโต อยู่รอด
การเมือง (Political)
เศรษฐกิจ
(Economic)
สังคม
(Social)
วิทยาการ
(Technology)
|